ล่าสุด
03 เมษายน 2025
สหประชาชาติ-ไทย มุ่งขับเคลื่อน SDGs เดินหน้าเศรษฐกิจสีเขียว-ลดเหลื่อมล้ำ ผ่านความร่วมมือไตรภาคี
06 กุมภาพันธ์ 2025
มหาวิทยาลัยมหิดลและองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ยกระดับความร่วมมือเพื่อส่งเสริมการคุ้มครองทางสังคมด้านสุขภาพในภูมิภาคเอเชีย
27 มกราคม 2025
AI จะลดช่องว่างการเรียนรู้ในโรงเรียนของประเทศไทยได้หรือไม่
ล่าสุด
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนใน ประเทศไทย

มิเกลล่า ฟิลแบรย์-สตอเร่ ผู้ประสานงานสหประชาชาติประจำประเทศไทย ปฏิบัติหน้าที่ผู้แทนเลขาธิการสหประชาชาติในประเทศไทย และเป็นผู้นำทีมงานสหประชาชาติในประเทศไทยและประสานงานการสนับสนุนของสหประชาชาติต่อประเทศไทยในการเดินหน้าวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน 2030
มารีนา ปาทรีเย รองผู้อำนวยการ สำนักงานยูเนสโกส่วนภูมิภาค ณ กรุงเทพฯ
คยองซอน คิม ผู้อำนวยการองค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย
หากท่านต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับกิจกรรมของสหประชาชาติในประเทศไทย โปรดเยี่ยมชม thailand.un.org, filtered_html


the UN Refugee Agency, senior Thai officials shared Thailand’s bold vision on how to empower close to half a million people who are currently stateless to become productive Thai nationals.“Our ultimate goal is to enable these individuals to become fully recognised members of our society,” said Sabeeda Thaised, Deputy Minister of Interior of Thailand. “Together, let us ensure that every person has a place to call home, and that statelessness will one day be a challenge of the past.” UNHCR, mandated by the UN General Assembly to prevent and reduce statelessness,
is working closely with the RTG to ensure the successful implementation of the Cabinet resolution, which will streamline permanent residency for 335,000 long-term residents of Thailand and nationality for 142,000 of their Thailand-born children. It is one of the most ambitious initiatives to reduce statelessness anywhere in the world. “Thailand is leading by example” said Tammi Sharpe, UNHCR’s Representative in Thailand. “This unprecedented step forward will drastically reduce statelessness in Thailand. We hope it will also inspire countries in the region and beyond to take similar bold steps too.” The Cabinet resolution demonstrates Thailand’s leadership on the world stage as
a member of the Global Alliance to End Statelessness. The Alliance was launched last month in Geneva, just as the #IBelong Campaign to End Statelessness marked its tenth and final anniversary. “The launch of the Campaign in 2014 was a strategic forward-looking decision, despite its ambitious goal of ending statelessness within a decade,” said Ruven Menikdiwela, UNHCR’s Assistant High Commissioner for Protection. “It contributed to the progress we see today, including in terms of the much stronger global consensus on the need to address statelessness.” Based on its global expertise in statelessness, UNHCR will continue supporting the RTG, for example by contributing equipment for its mobile registration drives. UNHCR will also continue partnering with civil society groups and organisations led by stateless or formerly stateless people to assist stateless communities with processing their applications through the accelerated pathway for permanent residency or nationality. Such organisations led the discussions in the event in Bangkok, joining with RTG officials and Thai academics to recommend how to maximise stateless people’s contributions to Thailand. “As someone who was once stateless myself, I am so happy that my stateless family members and friends will be able to acquire nationality or permanent residence in Thailand much quicker,” said Meefa Asong, President of the Local Community Network (LCN),
the first stateless-led organisation in Thailand to be an official partner of UNHCR. “We are eager to show our loyalty to Thailand and commitment to help build the country.” By resolving the statelessness of some 484,000 people, Thailand will unlock the potential for these individuals—who already have strong ties to Thailand—to contribute fully to the nation’s economic and cultural fabric. , filtered_html


บันทึกความเข้าใจ (MoU) ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างไตรภาคีและประเทศในภูมิภาคใต้-ใต้ (South-South and Triangular Cooperation) สนับสนุนการแบ่งปันความรู้และการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างประเทศในภูมิภาค ผ่านเครือข่าย CONNECT โดยมหาวิทยาลัยมหิดลและ ILO สนับสนุนความร่วมมือนี้ผ่านโครงการวิจัยร่วมกัน โปรแกรมการฝึกอบรม และการหารือเชิงนโยบาย ดังนั้นจึงเป็นพื้นที่ให้ประเทศต่างๆ แลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติและกลยุทธ์ทางนวัตกรรมที่ดีที่สุดเพื่อเสริมสร้างระบบการคุ้มครองทางสังคม “วันนี้ เรารู้สึกเป็นเกียรติที่ได้ยืนยันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยมหิดลอีกครั้ง เป็นพลังความร่วมมือทางวิชาการในการขับเคลื่อนความก้าวหน้า” คาโอริ นากามูระ-โอซากะ ผู้ช่วยผู้อำนวยการใหญ่และผู้อำนวยการองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ประจำภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก กล่าว “ความร่วมมือนี้แสดงถึงความสำคัญของการฝึกอบรมระยะยาวและความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ด้านการคุ้มครองทางสังคมด้านสุขภาพ ซึ่งเป็นผู้ที่จะส่งเสริมหลักการสากลเพื่อระบบการคุ้มครองทางสังคมด้านสุขภาพที่ครอบคลุมคนทุกกลุ่ม”“พิธีลงนามข้อตกลงความร่วมมือระหว่าง ILO กับมหาวิทยาลัยมหิดลครั้งนี้ เป็นหมุดหมายสำคัญของการสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ การวิจัย และการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านการคุ้มครองทางสังคมด้านสุขภาพ นอกจากนี้ ความร่วมมือดังกล่าวยังเป็นศักขีพยานแห่งความสำเร็จระหว่างองค์กรทั้งสองที่จะก้าวเดินไปด้วยกัน” ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าว
สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล (The ASEAN Institute for Health Development - AIHD) จะทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางสำคัญในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของบันทึกความเข้าใจ ความเชี่ยวชาญของสถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียนในด้านสุขภาพระดับโลกและแนวทางสหวิทยาการจะส่งเสริมให้เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัย รัฐบาล และองค์กรระดับประเทศ ระดับภูมิภาคและระดับโลก
CONNECT เป็นเครือข่ายที่ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2562 โดยองค์การแรงงานระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยมหิดล และพันธมิตรซึ่งรวมถึงสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย สถาบันนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของเวียดนาม สถาบันสุขภาพและกิจการสังคมแห่งเกาหลี และมหาวิทยาลัยแห่งชาติโซล โดยเป็นเครือข่ายผู้ร่วมบุกเบิกจากหน่วยงานภาครัฐ และองค์กรภาคประชาสังคมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกที่ทำงานร่วมกันเพื่อปิดช่องว่างของการคุ้มครองทางสังคมด้านสุขภาพ
หลักสูตรการจัดการสาธารณสุขมูลฐาน มหาบัณฑิต (MPHM) เปิดตัวในปี 2563 โดยสถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล ด้วยการสนับสนุนจาก ILO เป็นหลักสูตรปริญญาโทที่ใช้ระยะเวลาในการเรียน 1 ปี ที่ออกแบบมาเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของผู้ปฏิบัติงานด้านการคุ้มครองทางสังคมด้านสุขภาพในภูมิภาค จนถึงปัจจุบันนี้ มีนักศึกษาจำนวน 21 คนจาก 7 ประเทศ ที่ได้รับทุนการศึกษาระดับมหาบัณฑิต
การคุ้มครองทางสังคมด้านสุขภาพมีความสำคัญ โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย ที่ในแต่ละปีมีผู้คนหลายล้านคนต้องตกอยู่ในความยากจนเนื่องจากค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพที่ต้องจ่ายเอง การเสริมสร้างกรอบความคุ้มครองทางสังคมจึงเป็นเรื่องสำคัญในการลดความเสี่ยงทางการเงินที่เกิดจากความเจ็บป่วย ความพิการ และความไม่มั่นคงทางเศรษฐกิจ , filtered_html

นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีเผยว่า การถ่ายภาพฉลองความสำเร็จกฎหมายสมรสเท่าเทียมวันนี้ ถือเป็นการประกาศประวัติศาสตร์ความรักที่เท่าเทียมและยังเป็นการบันทึกความก้าวหน้าของประเทศไทยที่มีกฎหมายการสมรสเท่าเทียมแห่งแรกของอาเซียน และประเทศที่ 3 ของเอเชีย ส่งผลให้คนทั่วโลกรับทราบว่า รัฐบาลนี้ เป็นรัฐบาลที่เปิดรับความหลากหลายทางเพศในสังคม และจะขับเคลื่อนการพัฒนาภาพลักษณ์ทุกมิติ เพื่อให้ประเทศไทยเป็น LGBTIQ+ Global Destination ซึ่งจะช่วยเพิ่มโอกาสการเติบโตของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
นายจิรายุกล่าวต่อว่า สาระสำคัญของร่างกฎหมายฉบับนี้ เพื่อให้บุคคล 2 คนไม่ว่าจะเพศใดสามารถทำการหมั้นและสมรสได้ จาก กม.สมรสปัจจุบันที่การหมั้น ใช้คำว่า“ฝ่ายชาย ฝ่ายหญิง” แก้ไขเป็น “ผู้หมั้นและผู้รับหมั้น” หรือ “เพศ” ที่ใช้คำว่า “ชาย-หญิง” แก้ไขเป็น “บุคคลทั้ง 2 ฝ่าย” และสถานะหลังจดทะเบียนสมรส จาก “สามีภริยา/คู่สมรส” แก้เป็น “คู่สมรส/คู่สมรส” รวมทั้งการแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติอื่น ซึ่งจะทำให้บุคคลนั้นมีสิทธิ หน้าที่สถานะทางครอบครัว เท่าเทียมกับคู่สมรสที่เป็นชายและหญิง
“ช่วงที่ผ่านมา รัฐบาลได้มอบหมายให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เร่งทำความเข้าใจ ประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาชนได้เข้าใจถึงสิทธิต่าง ๆ ทั้งสิทธิการจัดการทรัพย์สินของคู่สมรส สิทธิรับบุตรบุญธรรม สิทธิการลงนามยินยอมให้รักษาพยาบาลอีกฝ่าย เป็นต้น ปัจจุบันนายทะเบียน 878 อำเภอทั่วประเทศ และ 50 เขตในกรุงเทพมหานคร พร้อมอำนวยความสะดวกในการจดทะเบียนสมรสเท่าเทียม” จิรายุ กล่าว อ่านข่าวต้นฉบับจากสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล, filtered_html

ผู้ประสานงานสหประชาชาติได้กล่าวชื่นชมพัฒนาการที่ดีและบทบาทที่โดดเด่นของไทยในด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนในหลายด้าน อาทิ การส่งเสริมความหลากหลายและความเท่าเทียมทางเพศ ความตระหนักรู้ของหลายภาคส่วนในสังคมเกี่ยวกับ SDGs โดยเฉพาะภาคเอกชน ภาควิชาการ และเยาวชน ซึ่งมีความมุ่งมั่นในการดำเนินการเพื่อขับเคลื่อนวาระการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างจริงจังและเห็นผลเป็นรูปธรรม รวมถึงเจตนารมณ์ของรัฐบาลในการขับเคลื่อนวาระการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกระดับ ส่งผลให้ไทยเป็นหนึ่งในผู้นำด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนในภูมิภาค โดยผู้ประสานงานสหประชาชาติยืนยันความพร้อมของทีมงานสหประชาชาติในประเทศไทยที่จะสนับสนุนการบรรลุ SDGs ของไทย และการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ อย่างยั่งยืน รวมถึงการส่งเสริมบทบาทที่เข้มแข็งในด้านนี้ของไทยในเวทีระหว่างประเทศ
นอกจากนี้ ผู้ช่วยรัฐมนตรีฯ ได้ย้ำถึงความมุ่งมั่นของรัฐบาลในการขับเคลื่อนนโยบายและวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งยังแสดงความพร้อมที่จะร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับผู้ประสานงานสหประชาชาติและทีมงานสหประชาชาติในประเทศไทยเพื่อขับเคลื่อนวาระด้านการต่างประเทศที่สำคัญ อาทิ การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่เมียนมา การเข้าเป็นสมาชิก OECD ของไทย และการเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบพหุภาคี รวมถึงการจัดทำกรอบความร่วมมือว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนฉบับใหม่ระหว่างทีมงานสหประชาชาติและไทยที่สะท้อนประเด็นสำคัญและผลประโยชน์ของไทยอย่างครอบคลุม , filtered_html


เพื่อให้การเปลี่ยนแปลงสีเขียวในระยะยาวเกิดขึ้น"เราต้องเน้นที่การศึกษา ตั้งแต่การพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียนประถมศึกษา จนถึงการศึกษาในทุกระดับการศึกษาและการลงทุนในความรู้ดิจิทัล เราต้องรวมมิติสู่ความยั่งยืนในหลักสูตรตั้งแต่ต้นและส่งเสริมให้นักศึกษามหาวิทยาลัยมุ่งเน้นที่พลังงานหมุนเวียน เทคโนโลยีคาร์บอนต่ำ และวัฏจักรชีวิตการผลิต แรงงานต้องได้รับการสนับสนุนไม่เพียงแค่การพัฒนาทักษะใหม่และยกระดับทักษะ แต่ยังต้องมีแนวคิดความยั่งยืน"ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมหัวข้อที่สอง การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อความเสมอภาค การพัฒนาอย่างยั่งยืนและครอบคลุมจะไม่สำเร็จหากไม่มีการริเริ่มที่กล้าหาญจากธุรกิจ เราได้เห็นนวัตกรรมที่เปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น ยางพารา การก่อสร้าง และพลังงานหมุนเวียน จากฟาร์มโซล่าลอยน้ำ การบำบัดน้ำเสีย ไปจนถึงวัสดุคาร์บอนต่ำที่เปลี่ยนแปลงภาคการก่อสร้าง"ธุรกิจไทยพิสูจน์ว่าการปฏิบัติที่ยั่งยืนและความสามารถในการทำกำไรสามารถไปด้วยกันได้ อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนไปสู่เทคโนโลยีสีเขียวต้องเร่งด่วน การประชุมสุดยอดแห่งอนาคตได้เน้นถึงความต้องการเร่งด่วนในการลงทุนภาคเอกชนในวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อบรรลุเป้าหมาย SDGs และแก้ไขปัญหาสภาพภูมิอากาศ ธุรกิจมีตำแหน่งที่ไม่เหมือนใครในการเป็นผู้นำโดยการลงทุนในความรู้ดิจิทัลและ
เทคโนโลยียั่งยืนที่ขับเคลื่อนประสิทธิภาพ"การส่งเสริมกลไกการเงินที่ครอบคลุมและนวัตกรรม และสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการลงทุนและการเป็นผู้ประกอบการ โดยเฉพาะการสนับสนุนสตาร์ทอัพและ SMEs GCNT มองว่าเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น AI เป็นโอกาสในการตอบสนองความต้องการของเศรษฐกิจสีเขียวและได้นำแนวคิดของสติปัญญาที่ยั่งยืนมาใช้ในกลยุทธ์การปลดล็อกการเงินที่ยั่งยืนหัวข้อที่สาม การปลดล็อกการเงินที่ยั่งยืน ตามที่เลขาธิการสหประชาชาติเน้นย้ำในการประชุม COP29 "การเงินสำหรับสภาพภูมิอากาศไม่ใช่การกุศล แต่เป็นการลงทุน การดำเนินการด้านสภาพภูมิอากาศไม่ใช่ทางเลือก แต่มันเป็นความจำเป็น"การบรรลุเป้าหมายธุรกิจที่ครอบคลุมและการเปลี่ยนแปลงสีเขียวต้องการไม่เพียงแค่วิสัยทัศน์แต่ยังต้องการการลงทุนที่สำคัญ ประเทศไทยได้แสดงให้เห็นถึงความเป็นผู้นำในการระดมทุน 19,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐสำหรับโครงการ ESG และวางแผนที่จะออกพันธบัตรความยั่งยืนมูลค่า 3,800 ล้านดอลลาร์สหรัฐในปีงบประมาณ 2025สหประชาชาติยังมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาตลาดคาร์บอนร่วมกับภาคเอกชนเพื่อสร้างเครดิตคาร์บอนที่ช่วยเหลือชุมชนที่เปราะบาง การเปลี่ยนการดำเนินการด้านสภาพภูมิอากาศเป็นโอกาสสำหรับการเติบโตแบบครอบคลุม โดยการปลดล็อกเงินทุนสำหรับความยั่งยืน เราสามารถปูทางไปสู่อนาคตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและยืดหยุ่นมากขึ้น ธุรกิจมีโอกาสที่ไม่เหมือนใครในการเป็นผู้นำในพื้นที่นี้ ———————ผู้เขียน วิรัสนันท์ ถึงถิ่น (กรุงเทพธุรกิจ), filtered_html
ผู้ประสานงานสหประชาชาติได้กล่าวชื่นชมพัฒนาการที่ดีและบทบาทที่โดดเด่นของไทยในด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนในหลายด้าน อาทิ การส่งเสริมความหลากหลายและความเท่าเทียมทางเพศ ความตระหนักรู้ของหลายภาคส่วนในสังคมเกี่ยวกับ SDGs โดยเฉพาะภาคเอกชน ภาควิชาการ และเยาวชน ซึ่งมีความมุ่งมั่นในการดำเนินการเพื่อขับเคลื่อนวาระการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างจริงจังและเห็นผลเป็นรูปธรรม รวมถึงเจตนารมณ์ของรัฐบาลในการขับเคลื่อนวาระการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกระดับ ส่งผลให้ไทยเป็นหนึ่งในผู้นำด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนในภูมิภาค โดยผู้ประสานงานสหประชาชาติยืนยันความพร้อมของทีมงานสหประชาชาติในประเทศไทยที่จะสนับสนุนการบรรลุ SDGs ของไทย และการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ อย่างยั่งยืน รวมถึงการส่งเสริมบทบาทที่เข้มแข็งในด้านนี้ของไทยในเวทีระหว่างประเทศ
นอกจากนี้ ผู้ช่วยรัฐมนตรีฯ ได้ย้ำถึงความมุ่งมั่นของรัฐบาลในการขับเคลื่อนนโยบายและวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งยังแสดงความพร้อมที่จะร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับผู้ประสานงานสหประชาชาติและทีมงานสหประชาชาติในประเทศไทยเพื่อขับเคลื่อนวาระด้านการต่างประเทศที่สำคัญ อาทิ การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่เมียนมา การเข้าเป็นสมาชิก OECD ของไทย และการเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบพหุภาคี รวมถึงการจัดทำกรอบความร่วมมือว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนฉบับใหม่ระหว่างทีมงานสหประชาชาติและไทยที่สะท้อนประเด็นสำคัญและผลประโยชน์ของไทยอย่างครอบคลุม —————————กระทรวงการต่างประเทศ, filtered_html
Where we work: The UN’s programmatic interventions
The UN is implementing 0 programmatic interventions during the ongoing programme cycle. The map below displays the number of programmatic interventions per location (note that a programmatic intervention may be linked to more than one location). Click on the number on the map to get a summary description of the programmatic interventions. Programmatic interventions may be linked to the national level or specific locations/sub-national level. Note that some interventions linked to specific locations might also have components at the national level, even if they are not categorized as country-level interventions. Click on “Show location details” in the bottom right corner to view a summary table with locations, the number of programmatic interventions, and the UN entities working in those locations. For definitions of programmatic interventions, please refer to the Glossary section.