ล่าสุด
เรื่อง
15 มีนาคม 2023
ภารกิจเจ้าหน้าที่สิทธิมนุษยชน UN หญิงไทยในซูดานใต้ ประเทศใหม่ที่สุดในโลก
เรียนรู้เพิ่มเติม
วิดีโอ
08 มีนาคม 2023
คำกล่าวของเลขาธิการสหประชาชาติเนื่องในวันสตรีสากลปี 2566
เรียนรู้เพิ่มเติม
คำกล่าวและสุนทรพจน์
08 มีนาคม 2023
คำกล่าวของเลขาธิการสหประชาชาติเนื่องในวันสตรีสากล
เรียนรู้เพิ่มเติม
ล่าสุด
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนใน ประเทศไทย
การทำงานของหน่วยงานทั้ง 21 แห่งของสหประชาชาติในประเทศไทยครอบคลุมเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งหมดในฐานะประเทศผู้มีรายได้ปานกลางระดับสูงจากการประเมินโดยองค์การสหประชาชาติ ทีมสหประชาชาติประจำประเทศจะสนับสนุนกิจกรรมที่ให้ความสำคัญเป็นพิเศษกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดังต่อไปนี้ ข้อ 1.3 การขยายขอบเขตการคุ้มครองทางสังคม ข้อ 3.4 การแก้ปัญหาเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ ข้อ 4.1 การช่วยให้ทุกคนเข้าถึงการศึกษา โดยมุ่งเน้นไปที่เยาวชนอพยพ ข้อ 5.5 การสนับสนุนเพื่อให้สตรีมีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการเมืองมากขึ้น ข้อ 8.3 การสนับสนุนธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและนวัตกรรมโดยเยาวชน ข้อ 10.2 การเปิดรับคนชายขอบ โดยเฉพาะชุมชน LGBTI ข้อ 10.7 การดูแลการโยกย้ายถิ่นฐาน ข้อ 13.2 ยุทธศาสตร์เพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับชาติและระดับท้องถิ่น ข้อ 16.1 การสนับสนุนความสามัคคีในสังคมเพื่อยุติความรุนแรงในภาคใต้ของประเทศไทย ข้อ 16.9 การผลักดันและสนับสนุนการยุติปัญหาคนไร้สัญชาติ ข้อ 17.7 การเป็นพันธมิตรกับภาคเอกชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และข้อ 17.9 การแบ่งปันประสบการณ์ของประเทศไทยและแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดผ่านการแลกเปลี่ยนใต้ – ใต้
วิดีโอ
07 มีนาคม 2023
คำกล่าวของเลขาธิการสหประชาชาติเนื่องในวันสตรีสากลปี 2566
วีดิโอคำกล่าวเนื่องในวันสตรีสากลปี 2566 โดยเลขาธิการสหประชาชาติ นายอันโตนิโอ กุเตอเรส
อ่านคำกล่าวต้นฉบับ
1 of 5

เรื่อง
09 มกราคม 2023
Opinion: a model for HIV management
The key to ending Aids is to end inequality, and countries most affected by the disease must lead the effort against the disease by closing the economic gap.
Inequality, compounded by stigmatisation, if not, criminalisation, is making it impossible for many people at risk of contracting HIV, as well as those living with the disease, to receive the quality care they need.
In theory, people living with HIV have the right to health care, employment and housing without discrimination. Migrant workers too have the right to seek HIV prevention and treatment programmes, just as those who are living on the margins of society, such as LGBTQI individuals, drug users and sex workers, have the right to seek health services from the state.
But in too many countries and regions, these are simply not happening.
The current paradigm in which Global North leads the world's Aids response taking charge of the decision-making, agenda-setting and public education needs to change. The developing world has just as many inspiring figures and innovations which the rest of the world could learn a lesson or two from in making HIV-related services more accessible to all. There are models from the Global South too, which can show the world how to address the structural, social and legal factors that are slowing the progress towards ending this epidemic.
Thailand is among these trailblazers. It has converted political commitment into political will, and political will into action. The results prove it. Thailand was first in the Asia Pacific region to eliminate mother- to-child transmission of HIV. Nine out of every ten people diagnosed with HIV here are receiving HIV treatment and an impressive 97% of these people are virally suppressed!
Just recently the country launched its "Undetectable = Untransmittable" or U=U initiative. This strategy is based on empirical testing which shows that people living with HIV who are on treatment and have an undetectable viral load cannot pass the virus on to their sexual partners or to their children.
Thailand has demonstrated the value of linking high-level buy-in for the vision of ending Aids with multi-sectoral collaboration. The country has taken a long-term view for planning and coordination through the 2017– 2030 National Strategy to End Aids. HIV response best practices are not cherry picked. Thailand has moved decisively to leverage innovations like same-day treatment for people who are newly diagnosed with HIV, HIV self-testing, and pre-exposure prophylaxis.
We are grateful that during Dec 13-16 last year, the government of Thailand was able to host the Joint United Nations Programme on HIV and Aids (UNAids) board meeting in Chiang Mai. This meeting brought civil society organisations, including associations of people living with HIV, to the discussion table with member states and United Nations agencies. Together these constituencies provide oversight and strategic direction for UNAids, which guides and supports the global HIV response.
For Thailand, the long-term plan is to reduce new infections, ensure everyone in need has access to HIV treatment, end stigma in healthcare, workplace, education, community, shift public perceptions about HIV and work through the justice system to protect and promote human rights for all. Not only has Thailand joined the Global Partnership to Eliminate all Forms of HIV-related Stigma and Discrimination, but it has developed a plan to end HIV-related prejudice.
This robust planning and implementation do not happen just everywhere. It is an example to the world.
Perhaps the greatest lesson Thailand can share is the importance of prioritising and supporting community-led work around HIV prevention, testing, treatment and care. By integrating HIV services into the Universal Health Coverage scheme and increasing investments in people most affected by HIV and community-led health services, the government is working towards a best practice for a long term, financially sustainable and high impact HIV response.
More than that, by leaning into the strength of community-led organisations, Thailand is giving itself the best chance of reaching people who are hardest to reach. These are the people who are diagnosed late, who are fearful to access HIV services and/or those who experience discrimination due to their HIV status and other intersecting vulnerabilities.
We were thrilled to offer UNAIDS board members the opportunity to see the power of a people-centred approach through community leadership as well as the power of partnerships between the community and public sector and integration of HIV in UHC in action.
The government, community organisations and UNAids will continue the work needed to ensure global HIV response is informed by the wealth of experiences from the entire world, particularly from countries most affected by HIV. And, as we have from the start, together we will prioritise community and civil society activism and leadership as a connection to the lived experience of people living with and affected by HIV. This inclusive approach is the only way to end Aids.
Written by: Tares Krassanairawiwong, Director-General of Department of Disease Control; Apiwat Kwangkaew, Chairman of the Thailand Network of People Living with HIV (TNP+); and Patchara Benjarattanaporn, UNAIDS Country Director, Thailand.
This piece was originally published on the Bangkok Post.
1 of 5

เรื่อง
03 กุมภาพันธ์ 2023
Increasing Arrivals of Rohingya Boats; IOM Scales Up Support
Bangkok – The number of Rohingya refugees arriving in South-East Asia via sea and land routes has increased exponentially in recent months. The International Organization for Migration (IOM) recorded almost 3,300 arrivals in Indonesia, Malaysia and Thailand in 2022, marking roughly a 290 per cent increase compared to around 850 arrivals in 2021.
As the increase in arrivals continues in 2023 – with nearly 300 as of 23 January, alone – IOM is scaling up its operations in the region to provide vital humanitarian assistance.
In Indonesia, where most of the arrivals have been recorded, IOM is working closely with the government, NGO partners and the UN Refugee Agency (UNHCR) to facilitate access to basic services. IOM has provided protection, health services – including mental health – in addition to refurbishing temporary shelters and ensuring water supply, access to food, sanitation and waste management.
Additionally, IOM teams are conducting information sessions in Rohingya language to support the refugees in identifying the risks linked to human smuggling and trafficking, gender-based violence and sexual exploitation and abuse.
In Thailand, IOM is providing health services to Rohingya, as well as promoting alternatives to detention for migrant children and mothers and an increase in education services for those in shelters.
Meanwhile, IOM in Malaysia is expanding its cash-based rental assistance programme, following vulnerability assessments, in response to the constant threat of eviction Rohingya refugees face.
“Since the beginning of the Rohingya refugee crisis, IOM has been steadfast in providing the necessary humanitarian assistance to the Rohingya,” said Sarah Lou Ysmael Arriola, IOM Regional Director for Asia and the Pacific. “Along with our UN and other humanitarian partners, we reaffirm our support to States across the region to provide immediate assistance to Rohingya refugees and other vulnerable migrants, and to strengthen the broader response capacity to irregular movements.”
Since 2020, over 3,000 Rohingyas in Indonesia, Malaysia and Thailand received direct assistance from IOM. In a recent statement, IOM urged States in the region to work collectively to avoid a repeat of the 2015 crisis, when thousands of men, women and children faced tremendous challenges in accessing life-saving care and support, resulting in loss of life at sea. IOM continues to advocate for the protection of Rohingya before, during and after their journeys, including combating smuggling and trafficking.
Over five years ago, the first of hundreds of thousands of Rohingya fled violence and persecution in Myanmar and sought refuge in what is now the world’s largest refugee settlement in Cox’s Bazar, Bangladesh.
Nearly 1 million refugees remain in congested camps, with many others embarking on dangerous journeys to neighbouring countries. IOM’s humanitarian assistance to Rohingya in the region is funded by the European Union and the US Department of State Bureau of Population, Refugees, and Migration (PRM).
***
For more information, please contact:
In Bangkok:
Itayi Viriri (iviriri@iom.int, +66 659390934)
Miko Alazas (aalazas@iom.int, +66 651190912)
In Jakarta:
Josephine Imelda (jimelda@iom.int, +62 81318693599)
In Kuala Lumpur:
Nurdeena Anuar (nanuar@iom.int, +60 196630160))
Siti Munawirah Ahmad (smustaffa@iom.int, +60 196630142)
1 of 5

ข่าวประชาสัมพันธ์
13 กุมภาพันธ์ 2023
UN GCNT- United Nations Thailand ร่วมกับผู้นำภาคธุรกิจ ยกระดับการเงินที่ยั่งยืน เร่งความก้าวหน้า SDGs
9 กุมภาพันธ์ 2566: สมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็กแห่งประเทศไทย(UN Global Compact Network Thailand) ร่วมกับสหประชาชาติในประไทย (United Nations Thailand) จัดงาน CEO Forum on Sustainable Finance: Scaling Up Sustainable Finance Solutions for Accelerating Progress on the SDGs หรืองานประชุมผู้นำธุรกิจ ว่าด้วยการยกระดับการเงินที่ยั่งยืน เพื่อเร่งความก้าวหน้า SDGs ที่รวมซีอีโอ ผู้นำสหประชาชาติ สถาบันการเงิน นักลงทุน และหน่วยงานกำกับดูแลจากประเทศไทยร่วมมือยกระดับการเงินที่ยั่งยืน ชี้กลยุทธ์ทางการเงินและการตัดสินใจลงทุน เป็นปัจจัยเร่งความก้าวหน้าการดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ด้านผู้นำ UNGC ประกาศเชื่อมั่นศักยภาพภาคธุรกิจในเอเชีย เล็งตั้ง UNGC Hub ระดับภูมิภาคที่กรุงเทพฯ
นายศุภชัย เจียรวนนท์ นายกสมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็กแห่งประเทศไทย (Suphachai Chearavanont Chairman of UN Global Compact Network Thailand) กล่าวว่า UN GCNT รู้สึกเป็นเกียรติที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการ
จัดงาน CEO Forum ว่าด้วยการเงินที่ยั่งยืน เพราะภาคการเงินและนักลงทุนกำลังให้ความสนใจการพัฒนาที่ยั่งยืนและ
มีอิทธิพลต่อธุรกิจมากขึ้น โดยกำลังพัฒนาเครื่องมือทางการเงินและการลงทุน เพื่อสนับสนุนให้ธุรกิจปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านความยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ และความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศ เพราะทุนทางธรรมชาติของเรา เป็นรากฐานของเศรษฐกิจโลกประมาณครึ่งหนึ่ง หากไม่มีระบบนิเวศทางธรรมชาติที่สมบูรณ์และมีความหลากหลายทางชีวภาพเพียงพอ การรักษาการเติบโตทางเศรษฐกิจและรับประกันความเป็นอยู่ที่ดีของประชากรโลกจะเป็นเรื่องยาก โดยได้เสนอ 5 กลยุทธ์ ที่สามารถช่วยให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนได้ คือ การสร้างความตระหนักด้วยการกำหนดเป้าหมายและสื่อสารให้ชัดเจน การใช้กลไกตลาดเพื่อดึงดูดผู้บริโภค และมีส่วนร่วมกับพนักงาน รวมทั้งพันธมิตรในห่วงโซ่คุณค่า การมีผู้นำที่มุ่งมั่นทุ่มเทเพื่อขับเคลื่อนองค์กร
การเสริมพลังให้คนรุ่นใหม่รับมือกับความท้าทายด้านความยั่งยืน และการมีวัฒนธรรมแห่งนวัตกรรม “ผมเชื่อว่าธุรกิจมีความรับผิดชอบและมีพลังที่จะลงมือทำให้เกิดขึ้นจริงได้ ทั้งการลดการปล่อยมลพิษ การปรับตัวให้เข้ากับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นและหลีกเลี่ยงไม่ได้จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” นายศุภชัย กล่าว นางซานด้า โอเจียมโบ ผู้ช่วยเลขาธิการ ซีอีโอ และผู้อำนวยการบริหาร ยูเอ็นโกลบอลคอมแพ็ก (Sanda Ojiambo – Assistant Secretary-General and CEO of UN Global Compact) เปิดเผยว่า ไม่ว่าโลกจะมีความขัดแย้ง ความไม่มั่นคงทางเศรษฐกิจ การขาดแคลนอาหารและพลังงาน รวมทั้งอุณหภูมิโลกที่สูงขึ้นกำลังกัดกร่อนความสำเร็จในการพัฒนาในทศวรรษที่ผ่านมา ความคืบหน้าเกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนได้หยุดลง และในบางกรณี ถึงขั้นกลับตาลปัตร มนุษยชาติอยู่ในรหัสสีแดงและไม่มีเวลาให้เสียเปล่าอย่างแท้จริง แน่นอนว่า ภาคธุรกิจยังคงมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่ง และจำเป็นต้องร่วมกันยกระดับการเงินที่ยั่งยืนให้เป็นหนึ่งในกลไกเร่งความก้าวหน้าของ SDGs แม้จะมีสถานการณ์เช่นนี้ เราเชื่อว่ามีเงินทุนมากมายในโลกที่จะจัดสรรได้ถึง 5-7 ล้านล้านดอลลาร์ เพื่อการบรรลุเป้าหมายระดับโลก โดยภูมิภาคเอเชียและโอเชียเนียจะมีความสำคัญอย่างยิ่งในการขับเคลื่อน ด้วยประชากรมากกว่า 60% ของโลกและมากกว่า 2 ใน 3 ของการเติบโตทั่วโลกที่คาดการณ์ไว้ เห็นได้ชัดถึงศักยภาพในการผลักดันการเปลี่ยนแปลงและทิศทางไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน สอดคล้องกับกลยุทธ์ของ UN Global Compact ที่มุ่งขยายพื้นที่ รวมทั้งเสริมสร้างการเติบโตของภูมิภาค โดยเตรียมเปิดตัว ศูนย์กลางของยูเอ็นโกลบอลคอมแพ็ก สำหรับภูมิภาคเอเชียและโอเชียเนีย (UN Global Compact Asia & Oceania Reginal Hub) ที่กรุงเทพฯ เร็วๆนี้ “เราทราบดีว่าธุรกิจไม่สามารถบรรลุเป้าหมายด้านความยั่งยืนได้โดยลำพัง ศูนย์กลางระดับภูมิภาคแห่งใหม่ของเราในกรุงเทพฯ จะช่วยสร้างความร่วมมือเชิงกลยุทธ์กับธุรกิจ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และสหประชาชาติ เพื่อช่วยขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการดำเนินงานเพื่อความยั่งยืนทั่วทั้งภูมิภาค” นางซานด้า กล่าว ด้านนางกีต้า ซับบระวาล ผู้ประสานงานสหประชาชาติประจำประเทศไทย (Gita Sabharwal – United Nations Resident Coordinator in Thailand) กล่าวว่า การประชุมในวันนี้เป็นโอกาสในการพูดคุยแลกเปลี่ยนถึงความเป็นผู้นำของภาคธุรกิจ เพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงสู่เศรษฐกิจสีเขียวในระดับประเทศและภูมิภาค สิ่งที่จะทำให้สามารถบรรลุการเปลี่ยนแปลงที่แท้จริงได้ ก็คือ การบริหารจัดการห่วงโซ่คุณค่าที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เพื่อเพิ่มการหมุนเวียน (Circularity) และลดรอยเท้าคาร์บอนทั่วทั้งกระดาน ซึ่งสหประชาชาติ กำลังช่วยเหลือความพยายามเหล่านี้ โดยใช้องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และจัดประชุมให้ทุกภาคส่วนได้ร่วมกันขับเคลื่อน “ขณะนี้ เราอยู่กึ่งกลางของเส้นทางสู่เป้าหมาย SDGs ในปี 2030 และภาคธุรกิจจะยังคงมีบทบาทสำคัญในการเร่งความสำเร็จของ SDGs ในประเทศไทย สิ่งสำคัญ คือ นักการเงินการธนาคาร นักลงทุน และผู้จัดการสินทรัพย์ จำเป็นต้องแสดงความเป็นผู้นำ ด้วยการปลดล็อกการจัดหาเงินทุนภายในประเทศเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” นางกีต้า กล่าว นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (Ruenvadee Suwanmongkol, Secretary-General of the Securities and Exchange Commission) กล่าวว่า ในขณะที่ภาครัฐมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนภาคการเงินเพื่อความยั่งยืน ด้วยการส่งเสริมเงินลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเงินสีเขียว เพื่อสนับสนุนเป้าหมายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตลอดจนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)ให้บรรลุผลสำเร็จโดยเร็วนั้น ภาคเอกชนก็มีบทบาทสำคัญในการจัดการและประเมินค่าความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ให้มีประสิทธิภาพตลอดห่วงโซ่ธุรกิจ
มีการจัดสรรเงินทุนไปสู่โครงการที่เป็นธุรกิจคาร์บอนต่ำเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนดังกล่าวต่อสาธารณะ ซึ่งจะช่วยให้มีจำนวนบทวิเคราะห์ด้านผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ การมี Taxonomy ในระดับประเทศและภูมิภาคจะช่วยเพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับระบบนิเวศทางการเงิน นอกจากนี้ ความร่วมมือของหน่วยงานภาคการเงินและตลาดทุน จะเป็นพลังสำคัญในการขับเคลื่อนเรื่องการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Economy) อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนในโครงการสีเขียวและการบรรลุเป้าหมาย SDGs ต่อไป งาน CEO Forum ครั้งนี้ ยังมีการเสวนาโต๊ะกลม (CEO Roundtable) โดยมีซีอีโอจากองค์กรสมาชิก UN GCNT มากกว่า 20 องค์กรร่วมพูดคุยถึงโอกาสและความท้าทายในการยกระดับกลยุทธ์ด้านการเงินและการลงทุนเพื่อความยั่งยืน อาทิ กลุ่มบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส บริษัท ไทยวา จำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท แพรนด้า จิวเวลรี่ จำกัด (มหาชน) ธนาคารเอสเอชบีซี โดยผู้นำธุรกิจส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า ขณะนี้ ความยั่งยืน คือใบอนุญาตที่แต่ละธุรกิจจะต้องบริหารจัดการ นอกเหนือจาก ดัชนีชี้วัดความสำเร็จของงาน (Key Performance Indicator) องค์กรต้องให้ความสำคัญกับดัชนีชี้วัดเป้าหมายความยั่งยืน (Key Impact Performance) โดยการเปลี่ยนผ่านนี้ต้องเกิดขึ้นทั่วองค์กร และขยายขอบเขตไปทั้งห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain) ตัวอย่างที่เห็นชัดเจนที่สุด คือ การบริหารจัดการการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่มีความท้าทายใหญ่อยู่ที่การบริหารจัดการ Scope 3 ดังนั้น การส่งเสริมเรื่องการเงินที่ยั่งยืน จึงต้องครอบคลุมถึง suppliers ซึ่งส่วนใหญ่เป็น SMEs ที่อยู่ในห่วงโซ่อุปทานด้วย เพื่อให้มั่นใจว่าพวกเขาสามารถปฏิบัติตามแนวทางของความยั่งยืนได้ ไม่ว่าจะเป็นการเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่ยั่งยืน เทคโนโลยี และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อทั้งองค์กรขนาดใหญ่ และ SMEs เอง เพราะปัจจุบัน ผู้บริโภค โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ ให้ความสำคัญ นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (Ruenvadee Suwanmongkol, Secretary-General of the Securities and Exchange Commission) กล่าวว่า ในขณะที่ภาครัฐมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนภาคการเงินเพื่อความยั่งยืน ด้วยการส่งเสริมเงินลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเงินสีเขียว เพื่อสนับสนุนเป้าหมายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตลอดจนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)ให้บรรลุผลสำเร็จโดยเร็วนั้น ภาคเอกชนก็มีบทบาทสำคัญในการจัดการและประเมินค่าความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ให้มีประสิทธิภาพตลอดห่วงโซ่ธุรกิจ
มีการจัดสรรเงินทุนไปสู่โครงการที่เป็นธุรกิจคาร์บอนต่ำเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนดังกล่าวต่อสาธารณะ ซึ่งจะช่วยให้มีจำนวนบทวิเคราะห์ด้านผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ การมี Taxonomy ในระดับประเทศและภูมิภาคจะช่วยเพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับระบบนิเวศทางการเงิน นอกจากนี้ ความร่วมมือของหน่วยงานภาคการเงินและตลาดทุน จะเป็นพลังสำคัญในการขับเคลื่อนเรื่องการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Economy) อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนในโครงการสีเขียวและการบรรลุเป้าหมาย SDGs ต่อไป งาน CEO Forum ครั้งนี้ ยังมีการเสวนาโต๊ะกลม (CEO Roundtable) โดยมีซีอีโอจากองค์กรสมาชิก UN GCNT มากกว่า 20 องค์กรร่วมพูดคุยถึงโอกาสและความท้าทายในการยกระดับกลยุทธ์ด้านการเงินและการลงทุนเพื่อความยั่งยืน อาทิ กลุ่มบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส บริษัท ไทยวา จำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท แพรนด้า จิวเวลรี่ จำกัด (มหาชน) ธนาคารเอสเอชบีซี โดยผู้นำธุรกิจส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า ขณะนี้ ความยั่งยืน คือใบอนุญาตที่แต่ละธุรกิจจะต้องบริหารจัดการ นอกเหนือจาก ดัชนีชี้วัดความสำเร็จของงาน (Key Performance Indicator) องค์กรต้องให้ความสำคัญกับดัชนีชี้วัดเป้าหมายความยั่งยืน (Key Impact Performance) โดยการเปลี่ยนผ่านนี้ต้องเกิดขึ้นทั่วองค์กร และขยายขอบเขตไปทั้งห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain) ตัวอย่างที่เห็นชัดเจนที่สุด คือ การบริหารจัดการการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่มีความท้าทายใหญ่อยู่ที่การบริหารจัดการ Scope 3 ดังนั้น การส่งเสริมเรื่องการเงินที่ยั่งยืน จึงต้องครอบคลุมถึง suppliers ซึ่งส่วนใหญ่เป็น SMEs ที่อยู่ในห่วงโซ่อุปทานด้วย เพื่อให้มั่นใจว่าพวกเขาสามารถปฏิบัติตามแนวทางของความยั่งยืนได้ ไม่ว่าจะเป็นการเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่ยั่งยืน เทคโนโลยี และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อทั้งองค์กรขนาดใหญ่ และ SMEs เอง เพราะปัจจุบัน ผู้บริโภค โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ ให้ความสำคัญ โดยหากภาคการเงินสามารถทำงานคู่ไปกับภาคธุรกิจ จะสามารถระดมเงินทุนจำนวนมากได้ ดังเช่น ความร่วมมือของกลุ่มพันธมิตรสถาบันการเงินที่สนับสนุนการเปลี่ยนผ่านด้านพลังงาน (Just Energy) หรือความร่วมมือเพื่อสนับสนุนเป้าหมาย Net Zero ของบริษัทจัดการสินทรัพย์ที่จัดตั้งหน่วยงานที่เรียกว่า Climate Asset Management ซึ่งมีเป้าหมายที่จะเป็นบริษัทจัดการสินทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่มุ่งเน้นการลงทุนในธรรมชาติ (Natural Capital) และโครงการคาร์บอนต่ำ CEO Forum ยังให้ความสำคัญกับธุรกิจเอสเอ็มอี ซึ่งคิดเป็น 90% ของธุรกิจและมากกว่า 50% ของการจ้างงานทั่วโลก
เป็นเครือข่ายห่วงโซ่อุปทานที่กว้างขวาง ที่ได้รับการยอมรับว่ามีส่วนสำคัญต่อการเติบโตของเศรษฐกิจของภูมิภาค รวมถึงในประเทศไทย ในช่วง SME Roundtable มีตัวแทนจากวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ร่วมแลกเปลี่ยน โดยผู้นำ SMEs ได้ตอกย้ำถึงบทบาทในการเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทาน แต่มีข้อจำกัดด้านเงินทุนที่ไม่ได้มีมากเท่ากับ
ภาคธุรกิจใหญ่ จึงมีความยากในการปรับเปลี่ยน และเห็นว่าควรสนับสนุนให้ SMEs วางแผนระยะยาว เพื่อเพิ่มมูลค่ามากกว่าหาผลกำไรระยะสั้น อย่างไรก็ตาม SMEs ก็ยังต้องการเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้มากขึ้น และเห็นว่าหากสามารถทำให้เกษตรกรรายย่อยเข้าถึงแหล่งเงินที่มากขึ้น จะกระตุ้นให้สามารถเข้าถึงปัจจัยการผลิต ความรู้ และเครื่องมือที่ดีขึ้น เพื่อปรับปรับผลผลิตให้ยั่งยืนยิ่งขึ้นด้วย ข้อมูลเพิ่มเติม :
สมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็กแห่งประเทศไทย (GCNT – Global Compact Network Thailand): เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนธันวาคม 2561 โดยสมาชิกผู้ก่อตั้งในไทย 15 บริษัท ปัจจุบันมีสมาชิก 110 องค์กร โดยสมาคมฯ นับเป็นหนึ่งในเครือข่ายท้องถิ่น (Local Network) ของโครงการสำคัญในระดับโลกของสหประชาชาติ หรือ UN Global Compact ซึ่งเป็นเครือข่ายการพัฒนาที่ยั่งยืนที่ใหญ่ที่สุดในโลก รณรงค์ให้ภาคเอกชนทั่วโลกวางกลยุทธ์และยึดหลักการทำงานที่สร้างเศรษฐกิจยั่งยืน ภายใต้หลักสากล 10 ประการ ครอบคลุม 4 ด้าน ได้แก่สิทธิมนุษยชน มาตรฐานแรงงาน สิ่งแวดล้อม การต่อต้านทุจริต ตลอดจนดำเนินกิจกรรมที่ช่วยผลักดันเป้าหมายสหประชาชาติ อาทิ เป้าหมายว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) รวมไปถึงความตกลงปารีสว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Paris Agreement) สหประชาชาติในประเทศไทย (United Nations in Thailand): สหประชาชาติทำงานร่วมกับรัฐบาลไทยและประชาชนไทยมากว่า 50 ปีเพื่อสนับสนุนการพัฒนาที่ครอบคลุมและยั่งยืน โดยยึดตามวาระสำคัญและแผนงานระดับชาติ ทีมสหประชาชาติประจำประเทศประกอบด้วยหน่วยงานของสหประชาชาติ 21 หน่วยงาน ซึ่งต่างดำเนินโครงการและกิจกรรมเฉพาะด้านในประเทศไทย ผ่านความร่วมมือกับรัฐบาลไทย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระดับชาติ ภาคประชาสังคม สถาบันการศึกษา ภาคเอกชนผู้บริจาค และสื่อมวลชน และยังทำงานอย่างใกล้ชิดกับคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (United Nations ESCAP) รวมถึงศูนย์ความร่วมมือระดับภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกของกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในกรุงเทพมหานคร (UNFCCC RCC Bangkok) อีกด้วย
จัดงาน CEO Forum ว่าด้วยการเงินที่ยั่งยืน เพราะภาคการเงินและนักลงทุนกำลังให้ความสนใจการพัฒนาที่ยั่งยืนและ
มีอิทธิพลต่อธุรกิจมากขึ้น โดยกำลังพัฒนาเครื่องมือทางการเงินและการลงทุน เพื่อสนับสนุนให้ธุรกิจปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านความยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ และความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศ เพราะทุนทางธรรมชาติของเรา เป็นรากฐานของเศรษฐกิจโลกประมาณครึ่งหนึ่ง หากไม่มีระบบนิเวศทางธรรมชาติที่สมบูรณ์และมีความหลากหลายทางชีวภาพเพียงพอ การรักษาการเติบโตทางเศรษฐกิจและรับประกันความเป็นอยู่ที่ดีของประชากรโลกจะเป็นเรื่องยาก โดยได้เสนอ 5 กลยุทธ์ ที่สามารถช่วยให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนได้ คือ การสร้างความตระหนักด้วยการกำหนดเป้าหมายและสื่อสารให้ชัดเจน การใช้กลไกตลาดเพื่อดึงดูดผู้บริโภค และมีส่วนร่วมกับพนักงาน รวมทั้งพันธมิตรในห่วงโซ่คุณค่า การมีผู้นำที่มุ่งมั่นทุ่มเทเพื่อขับเคลื่อนองค์กร
การเสริมพลังให้คนรุ่นใหม่รับมือกับความท้าทายด้านความยั่งยืน และการมีวัฒนธรรมแห่งนวัตกรรม “ผมเชื่อว่าธุรกิจมีความรับผิดชอบและมีพลังที่จะลงมือทำให้เกิดขึ้นจริงได้ ทั้งการลดการปล่อยมลพิษ การปรับตัวให้เข้ากับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นและหลีกเลี่ยงไม่ได้จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” นายศุภชัย กล่าว นางซานด้า โอเจียมโบ ผู้ช่วยเลขาธิการ ซีอีโอ และผู้อำนวยการบริหาร ยูเอ็นโกลบอลคอมแพ็ก (Sanda Ojiambo – Assistant Secretary-General and CEO of UN Global Compact) เปิดเผยว่า ไม่ว่าโลกจะมีความขัดแย้ง ความไม่มั่นคงทางเศรษฐกิจ การขาดแคลนอาหารและพลังงาน รวมทั้งอุณหภูมิโลกที่สูงขึ้นกำลังกัดกร่อนความสำเร็จในการพัฒนาในทศวรรษที่ผ่านมา ความคืบหน้าเกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนได้หยุดลง และในบางกรณี ถึงขั้นกลับตาลปัตร มนุษยชาติอยู่ในรหัสสีแดงและไม่มีเวลาให้เสียเปล่าอย่างแท้จริง แน่นอนว่า ภาคธุรกิจยังคงมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่ง และจำเป็นต้องร่วมกันยกระดับการเงินที่ยั่งยืนให้เป็นหนึ่งในกลไกเร่งความก้าวหน้าของ SDGs แม้จะมีสถานการณ์เช่นนี้ เราเชื่อว่ามีเงินทุนมากมายในโลกที่จะจัดสรรได้ถึง 5-7 ล้านล้านดอลลาร์ เพื่อการบรรลุเป้าหมายระดับโลก โดยภูมิภาคเอเชียและโอเชียเนียจะมีความสำคัญอย่างยิ่งในการขับเคลื่อน ด้วยประชากรมากกว่า 60% ของโลกและมากกว่า 2 ใน 3 ของการเติบโตทั่วโลกที่คาดการณ์ไว้ เห็นได้ชัดถึงศักยภาพในการผลักดันการเปลี่ยนแปลงและทิศทางไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน สอดคล้องกับกลยุทธ์ของ UN Global Compact ที่มุ่งขยายพื้นที่ รวมทั้งเสริมสร้างการเติบโตของภูมิภาค โดยเตรียมเปิดตัว ศูนย์กลางของยูเอ็นโกลบอลคอมแพ็ก สำหรับภูมิภาคเอเชียและโอเชียเนีย (UN Global Compact Asia & Oceania Reginal Hub) ที่กรุงเทพฯ เร็วๆนี้ “เราทราบดีว่าธุรกิจไม่สามารถบรรลุเป้าหมายด้านความยั่งยืนได้โดยลำพัง ศูนย์กลางระดับภูมิภาคแห่งใหม่ของเราในกรุงเทพฯ จะช่วยสร้างความร่วมมือเชิงกลยุทธ์กับธุรกิจ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และสหประชาชาติ เพื่อช่วยขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการดำเนินงานเพื่อความยั่งยืนทั่วทั้งภูมิภาค” นางซานด้า กล่าว ด้านนางกีต้า ซับบระวาล ผู้ประสานงานสหประชาชาติประจำประเทศไทย (Gita Sabharwal – United Nations Resident Coordinator in Thailand) กล่าวว่า การประชุมในวันนี้เป็นโอกาสในการพูดคุยแลกเปลี่ยนถึงความเป็นผู้นำของภาคธุรกิจ เพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงสู่เศรษฐกิจสีเขียวในระดับประเทศและภูมิภาค สิ่งที่จะทำให้สามารถบรรลุการเปลี่ยนแปลงที่แท้จริงได้ ก็คือ การบริหารจัดการห่วงโซ่คุณค่าที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เพื่อเพิ่มการหมุนเวียน (Circularity) และลดรอยเท้าคาร์บอนทั่วทั้งกระดาน ซึ่งสหประชาชาติ กำลังช่วยเหลือความพยายามเหล่านี้ โดยใช้องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และจัดประชุมให้ทุกภาคส่วนได้ร่วมกันขับเคลื่อน “ขณะนี้ เราอยู่กึ่งกลางของเส้นทางสู่เป้าหมาย SDGs ในปี 2030 และภาคธุรกิจจะยังคงมีบทบาทสำคัญในการเร่งความสำเร็จของ SDGs ในประเทศไทย สิ่งสำคัญ คือ นักการเงินการธนาคาร นักลงทุน และผู้จัดการสินทรัพย์ จำเป็นต้องแสดงความเป็นผู้นำ ด้วยการปลดล็อกการจัดหาเงินทุนภายในประเทศเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” นางกีต้า กล่าว นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (Ruenvadee Suwanmongkol, Secretary-General of the Securities and Exchange Commission) กล่าวว่า ในขณะที่ภาครัฐมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนภาคการเงินเพื่อความยั่งยืน ด้วยการส่งเสริมเงินลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเงินสีเขียว เพื่อสนับสนุนเป้าหมายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตลอดจนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)ให้บรรลุผลสำเร็จโดยเร็วนั้น ภาคเอกชนก็มีบทบาทสำคัญในการจัดการและประเมินค่าความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ให้มีประสิทธิภาพตลอดห่วงโซ่ธุรกิจ
มีการจัดสรรเงินทุนไปสู่โครงการที่เป็นธุรกิจคาร์บอนต่ำเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนดังกล่าวต่อสาธารณะ ซึ่งจะช่วยให้มีจำนวนบทวิเคราะห์ด้านผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ การมี Taxonomy ในระดับประเทศและภูมิภาคจะช่วยเพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับระบบนิเวศทางการเงิน นอกจากนี้ ความร่วมมือของหน่วยงานภาคการเงินและตลาดทุน จะเป็นพลังสำคัญในการขับเคลื่อนเรื่องการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Economy) อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนในโครงการสีเขียวและการบรรลุเป้าหมาย SDGs ต่อไป งาน CEO Forum ครั้งนี้ ยังมีการเสวนาโต๊ะกลม (CEO Roundtable) โดยมีซีอีโอจากองค์กรสมาชิก UN GCNT มากกว่า 20 องค์กรร่วมพูดคุยถึงโอกาสและความท้าทายในการยกระดับกลยุทธ์ด้านการเงินและการลงทุนเพื่อความยั่งยืน อาทิ กลุ่มบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส บริษัท ไทยวา จำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท แพรนด้า จิวเวลรี่ จำกัด (มหาชน) ธนาคารเอสเอชบีซี โดยผู้นำธุรกิจส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า ขณะนี้ ความยั่งยืน คือใบอนุญาตที่แต่ละธุรกิจจะต้องบริหารจัดการ นอกเหนือจาก ดัชนีชี้วัดความสำเร็จของงาน (Key Performance Indicator) องค์กรต้องให้ความสำคัญกับดัชนีชี้วัดเป้าหมายความยั่งยืน (Key Impact Performance) โดยการเปลี่ยนผ่านนี้ต้องเกิดขึ้นทั่วองค์กร และขยายขอบเขตไปทั้งห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain) ตัวอย่างที่เห็นชัดเจนที่สุด คือ การบริหารจัดการการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่มีความท้าทายใหญ่อยู่ที่การบริหารจัดการ Scope 3 ดังนั้น การส่งเสริมเรื่องการเงินที่ยั่งยืน จึงต้องครอบคลุมถึง suppliers ซึ่งส่วนใหญ่เป็น SMEs ที่อยู่ในห่วงโซ่อุปทานด้วย เพื่อให้มั่นใจว่าพวกเขาสามารถปฏิบัติตามแนวทางของความยั่งยืนได้ ไม่ว่าจะเป็นการเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่ยั่งยืน เทคโนโลยี และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อทั้งองค์กรขนาดใหญ่ และ SMEs เอง เพราะปัจจุบัน ผู้บริโภค โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ ให้ความสำคัญ นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (Ruenvadee Suwanmongkol, Secretary-General of the Securities and Exchange Commission) กล่าวว่า ในขณะที่ภาครัฐมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนภาคการเงินเพื่อความยั่งยืน ด้วยการส่งเสริมเงินลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเงินสีเขียว เพื่อสนับสนุนเป้าหมายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตลอดจนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)ให้บรรลุผลสำเร็จโดยเร็วนั้น ภาคเอกชนก็มีบทบาทสำคัญในการจัดการและประเมินค่าความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ให้มีประสิทธิภาพตลอดห่วงโซ่ธุรกิจ
มีการจัดสรรเงินทุนไปสู่โครงการที่เป็นธุรกิจคาร์บอนต่ำเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนดังกล่าวต่อสาธารณะ ซึ่งจะช่วยให้มีจำนวนบทวิเคราะห์ด้านผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ การมี Taxonomy ในระดับประเทศและภูมิภาคจะช่วยเพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับระบบนิเวศทางการเงิน นอกจากนี้ ความร่วมมือของหน่วยงานภาคการเงินและตลาดทุน จะเป็นพลังสำคัญในการขับเคลื่อนเรื่องการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Economy) อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนในโครงการสีเขียวและการบรรลุเป้าหมาย SDGs ต่อไป งาน CEO Forum ครั้งนี้ ยังมีการเสวนาโต๊ะกลม (CEO Roundtable) โดยมีซีอีโอจากองค์กรสมาชิก UN GCNT มากกว่า 20 องค์กรร่วมพูดคุยถึงโอกาสและความท้าทายในการยกระดับกลยุทธ์ด้านการเงินและการลงทุนเพื่อความยั่งยืน อาทิ กลุ่มบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส บริษัท ไทยวา จำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท แพรนด้า จิวเวลรี่ จำกัด (มหาชน) ธนาคารเอสเอชบีซี โดยผู้นำธุรกิจส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า ขณะนี้ ความยั่งยืน คือใบอนุญาตที่แต่ละธุรกิจจะต้องบริหารจัดการ นอกเหนือจาก ดัชนีชี้วัดความสำเร็จของงาน (Key Performance Indicator) องค์กรต้องให้ความสำคัญกับดัชนีชี้วัดเป้าหมายความยั่งยืน (Key Impact Performance) โดยการเปลี่ยนผ่านนี้ต้องเกิดขึ้นทั่วองค์กร และขยายขอบเขตไปทั้งห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain) ตัวอย่างที่เห็นชัดเจนที่สุด คือ การบริหารจัดการการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่มีความท้าทายใหญ่อยู่ที่การบริหารจัดการ Scope 3 ดังนั้น การส่งเสริมเรื่องการเงินที่ยั่งยืน จึงต้องครอบคลุมถึง suppliers ซึ่งส่วนใหญ่เป็น SMEs ที่อยู่ในห่วงโซ่อุปทานด้วย เพื่อให้มั่นใจว่าพวกเขาสามารถปฏิบัติตามแนวทางของความยั่งยืนได้ ไม่ว่าจะเป็นการเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่ยั่งยืน เทคโนโลยี และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อทั้งองค์กรขนาดใหญ่ และ SMEs เอง เพราะปัจจุบัน ผู้บริโภค โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ ให้ความสำคัญ โดยหากภาคการเงินสามารถทำงานคู่ไปกับภาคธุรกิจ จะสามารถระดมเงินทุนจำนวนมากได้ ดังเช่น ความร่วมมือของกลุ่มพันธมิตรสถาบันการเงินที่สนับสนุนการเปลี่ยนผ่านด้านพลังงาน (Just Energy) หรือความร่วมมือเพื่อสนับสนุนเป้าหมาย Net Zero ของบริษัทจัดการสินทรัพย์ที่จัดตั้งหน่วยงานที่เรียกว่า Climate Asset Management ซึ่งมีเป้าหมายที่จะเป็นบริษัทจัดการสินทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่มุ่งเน้นการลงทุนในธรรมชาติ (Natural Capital) และโครงการคาร์บอนต่ำ CEO Forum ยังให้ความสำคัญกับธุรกิจเอสเอ็มอี ซึ่งคิดเป็น 90% ของธุรกิจและมากกว่า 50% ของการจ้างงานทั่วโลก
เป็นเครือข่ายห่วงโซ่อุปทานที่กว้างขวาง ที่ได้รับการยอมรับว่ามีส่วนสำคัญต่อการเติบโตของเศรษฐกิจของภูมิภาค รวมถึงในประเทศไทย ในช่วง SME Roundtable มีตัวแทนจากวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ร่วมแลกเปลี่ยน โดยผู้นำ SMEs ได้ตอกย้ำถึงบทบาทในการเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทาน แต่มีข้อจำกัดด้านเงินทุนที่ไม่ได้มีมากเท่ากับ
ภาคธุรกิจใหญ่ จึงมีความยากในการปรับเปลี่ยน และเห็นว่าควรสนับสนุนให้ SMEs วางแผนระยะยาว เพื่อเพิ่มมูลค่ามากกว่าหาผลกำไรระยะสั้น อย่างไรก็ตาม SMEs ก็ยังต้องการเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้มากขึ้น และเห็นว่าหากสามารถทำให้เกษตรกรรายย่อยเข้าถึงแหล่งเงินที่มากขึ้น จะกระตุ้นให้สามารถเข้าถึงปัจจัยการผลิต ความรู้ และเครื่องมือที่ดีขึ้น เพื่อปรับปรับผลผลิตให้ยั่งยืนยิ่งขึ้นด้วย ข้อมูลเพิ่มเติม :
สมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็กแห่งประเทศไทย (GCNT – Global Compact Network Thailand): เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนธันวาคม 2561 โดยสมาชิกผู้ก่อตั้งในไทย 15 บริษัท ปัจจุบันมีสมาชิก 110 องค์กร โดยสมาคมฯ นับเป็นหนึ่งในเครือข่ายท้องถิ่น (Local Network) ของโครงการสำคัญในระดับโลกของสหประชาชาติ หรือ UN Global Compact ซึ่งเป็นเครือข่ายการพัฒนาที่ยั่งยืนที่ใหญ่ที่สุดในโลก รณรงค์ให้ภาคเอกชนทั่วโลกวางกลยุทธ์และยึดหลักการทำงานที่สร้างเศรษฐกิจยั่งยืน ภายใต้หลักสากล 10 ประการ ครอบคลุม 4 ด้าน ได้แก่สิทธิมนุษยชน มาตรฐานแรงงาน สิ่งแวดล้อม การต่อต้านทุจริต ตลอดจนดำเนินกิจกรรมที่ช่วยผลักดันเป้าหมายสหประชาชาติ อาทิ เป้าหมายว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) รวมไปถึงความตกลงปารีสว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Paris Agreement) สหประชาชาติในประเทศไทย (United Nations in Thailand): สหประชาชาติทำงานร่วมกับรัฐบาลไทยและประชาชนไทยมากว่า 50 ปีเพื่อสนับสนุนการพัฒนาที่ครอบคลุมและยั่งยืน โดยยึดตามวาระสำคัญและแผนงานระดับชาติ ทีมสหประชาชาติประจำประเทศประกอบด้วยหน่วยงานของสหประชาชาติ 21 หน่วยงาน ซึ่งต่างดำเนินโครงการและกิจกรรมเฉพาะด้านในประเทศไทย ผ่านความร่วมมือกับรัฐบาลไทย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระดับชาติ ภาคประชาสังคม สถาบันการศึกษา ภาคเอกชนผู้บริจาค และสื่อมวลชน และยังทำงานอย่างใกล้ชิดกับคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (United Nations ESCAP) รวมถึงศูนย์ความร่วมมือระดับภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกของกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในกรุงเทพมหานคร (UNFCCC RCC Bangkok) อีกด้วย
1 of 5
เรื่อง
12 มีนาคม 2022
10 วิธีแก้วิกฤตโลกร้อนด้วยตัวเรา
เพื่อรักษาสภาพภูมิอากาศให้ยังคงเอื้อต่อการดำรงชีวิต การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิจะต้องลดลงเป็นศูนย์ภายในปี 2050 แน่นอนว่าภาครัฐและภาคธุรกิจจะต้องดำเนินการอย่างชัดเจน รวดเร็ว และรอบด้าน แต่การเปลี่ยนผ่านสู่โลกคาร์บอนต่ำก็ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระบบเศรษฐกิจที่ซับซ้อน
ActNow เป็นโครงการรณรงค์ของสหประชาชาติว่าด้วยการแก้ปัญหาสภาพภูมิอากาศและความยั่งยืนในระดับบุคคล เราทุกคน
สามารถช่วยลดภาวะโลกร้อน ดูแลโลกของเรา และกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ด้วยการทำกิจกรรมที่ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมให้น้อยลง
บันทึกสิ่งที่คุณทำเพื่อแก้ปัญหาสภาพอากาศ และร่วมเป็นส่วนหนึ่งของความพยายามระดับโลกผ่านแอปพลิเคชันนี้
พลังงานและการขนส่งคือหัวใจ
อาหารก็สำคัญ
เป็นกระบอกเสียง!
ㅤㅤ
ㅤㅤ
ไฟฟ้าและความร้อนส่วนใหญ่ที่เราใช้ยังคงต้องอาศัยพลังงานจากถ่านหิน น้ำมัน และก๊าซ เครื่องบินและรถยนต์ส่วนใหญ่ก็ยังใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล คุณสามารถช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้โดยใช้พลังงานที่บ้านให้น้อยลง เปลี่ยนไปใช้พลังงานลมหรือพลังงานแสงอาทิตย์ หลีกเลี่ยงการเดินทางด้วยเที่ยวบินระยะไกล และขับรถให้น้อยลง
• ติดตามการประชุมระดับผู้นำด้านพลังงาน
• ติดตามการประชุมแห่งสหประชาชาติด้านการคมนาคมที่ยั่งยืนระดับโลก (UN Global Sustainable Transport Conference)
ㅤㅤㅤ
การผลิต การแปรรูป การขนส่ง การบริโภค และการกำจัดอาหารล้วนนำไปสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจก คุณสามารถลดผลกระทบต่อสภาพอากาศได้ด้วยการซื้ออาหารในท้องถิ่นและตามฤดูกาล รับประทานอาหารจากพืชให้มากขึ้น ใช้วัตถุดิบอาหารที่คุณมีให้หมด และและทำปุ๋ยหมักจากเศษอาหารที่เหลือ
• ร่วมลดผลกระทบได้วันนี้
• อ่านเกี่ยวกับการประชุมสุดยอดผู้นำระบบอาหารโลก (UN Food Systems Summit)
ㅤㅤㅤ
การดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรมจากทุกภาคส่วนของสังคมคือปัจจัยหลักในการเปลี่ยนผ่านอย่างรวดเร็วสู่อนาคตที่มีความยืดหยุ่นต่อสภาพอากาศ จงเปล่งเสียงของคุณ เรียกร้องต่อผู้นำระดับโลก กระตุ้นให้ผู้คนในเมือง ในภูมิภาค และในมหาวิทยาลัยของคุณ ตลอดจนธุรกิจต่าง ๆ ลงมือดำเนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อให้การปล่อยมลพิษสุทธิเป็นศูนย์
• ร่วมขับเคลื่อนไปกับปฏิบัติการแข่งขันเพื่อคาร์บอนเป็นศูนย์ (Race to Zero)
• ติดตามพันธมิตรลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ (Net Zero Coalition)
ร่วมแก้ไขวิกฤตสภาพภูมิอากาศด้วย 10 วิธีต่อไปนี้!
ร่วมคิด ร่วมทำ สู่ความยั่งยืนเพื่อโลกของเรา—วิถีชีวิตของเราส่งผลกระทบอย่างมากต่อโลก การตัดสินใจของเราจึงมีความสำคัญ ราว 2 ใน 3 ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลกมาจากภาคครัวเรือนหรือระดับบุคคล และภาคพลังงาน อาหาร และการขนส่งซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในชีวิตของเราต่างก็มีส่วนปล่อยมลพิษประมาณร้อยละ 20 ด้วยเหตุนี้ เราทุกคนจึงสามารถสร้างความแตกต่างได้ ตั้งแต่ไฟฟ้าที่เราใช้ อาหารที่เรารับประทาน ไปจนถึงวิธีการที่เราเดินทาง ลองเริ่มต้นด้วย 10 วิธีดังต่อไปนี้ หรือดาวน์โหลดแอปเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติมพร้อมบันทึกการมีส่วนร่วมของคุณได้เลย
ประหยัดพลังงานที่บ้าน
การผลิตไฟฟ้าและความร้อนส่วนใหญ่ใช้พลังงานจากถ่านหิน น้ำมัน และก๊าซ เราสามารถใช้พลังงานให้น้อยลงได้โดยการปรับระดับการทำความร้อนและความเย็นให้ต่ำลง เปลี่ยนมาใช้หลอดไฟ LED และเครื่องใช้ไฟฟ้าประหยัดพลังงาน ซักผ้าด้วยน้ำเย็น หรือตากผ้าแทนการใช้เครื่องอบผ้า
เดิน ปั่นจักรยาน หรือใช้ระบบขนส่งสาธารณะ
ถนนทั่วโลกแน่นขนัดไปด้วยยานพาหนะซึ่งส่วนใหญ่ใช้น้ำมันดีเซลหรือเบนซินเป็นเชื้อเพลิง การเดินหรือขี่จักรยานแทนการขับรถจะช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทั้งยังช่วยเสริมสร้างสุขภาพและความแข็งแรงอีกด้วย หากคุณต้องเดินทางไกล ลองเปลี่ยนมาโดยสารรถไฟหรือรถประจำทาง และติดรถไปกับผู้อื่นเมื่อทำได้
รับประทานผักให้มากขึ้น
แค่รับประทานผัก ผลไม้ ธัญพืชเต็มเมล็ด พืชตระกูลถั่ว และเมล็ดพืชมากขึ้น และลดเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากนมให้น้อยลง คุณก็สามารถลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างมาก โดยทั่วไปกระบวนการผลิตอาหารที่มาจากพืชจะสร้างก๊าซเรือนกระจกน้อยกว่า อีกทั้งยังใช้พลังงาน ที่ดิน และน้ำน้อยกว่า
เลือกวิธีเดินทาง
เครื่องบินใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลอย่างมหาศาล และปล่อยก๊าซเรือนกระจกจำนวนมาก การนั่งเครื่องบินให้น้อยลงจึงเป็นหนึ่งในวิธีที่เร็วที่สุดในการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หากทำได้ ให้คุณนัดพบกันในทางออนไลน์ ขึ้นรถไฟ หรือยกเลิกการเดินทางระยะไกลนั้นไปเลย
รับประทานอาหารให้หมด
ทุกครั้งที่คุณทิ้งอาหาร คุณกำลังทิ้งทรัพยากรและพลังงานที่ใช้ในการเพาะปลูก/เลี้ยง ผลิต บรรจุ และขนส่งอาหารนั้น ๆ และอาหารที่บูดเน่าอยู่ในบ่อขยะก็จะปล่อยก๊าซมีเทนซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกที่รุนแรงมาก ดังนั้น รับประทานอาหารที่คุณซื้อมาให้หมดและส่วนที่เหลือให้หมักทำปุ๋ย
ลด ใช้ซ้ำ ซ่อมแซม และรีไซเคิล
อุปกรณ์ไฟฟ้า เสื้อผ้า และสินค้าอื่น ๆ ที่เราซื้อล้วนแล้วแต่ก่อให้เกิดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ ณ จุดใดจุดหนึ่งของการผลิต ตั้งแต่การหาวัตถุดิบ ไปจนถึงการผลิต และการขนส่งสินค้าสู่ตลาด คุณสามารถช่วยรักษาสภาพอากาศของเราด้วยการซื้อของให้น้อยลง ซื้อของมือสอง ซ่อมหากซ่อมได้ และรีไซเคิล
เปลี่ยนแหล่งพลังงานในบ้าน
สอบถามบริษัทสาธารณูปโภคของคุณว่าพลังงานที่คุณใช้ในบ้านนั้นผลิตมาจากน้ำมัน ถ่านหิน หรือก๊าซหรือไม่ ถ้าเป็นไปได้ ให้ลองเปลี่ยนไปใช้แหล่งพลังงานหมุนเวียน เช่น ลมหรือพลังงานแสงอาทิตย์ หรือติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์บนหลังคาเพื่อผลิตพลังงานให้บ้านของคุณ
เปลี่ยนไปใช้รถยนต์ไฟฟ้า
หากคุณวางแผนที่จะซื้อรถยนต์ ลองเลือกดูรถยนต์ไฟฟ้าซึ่งตอนนี้มีหลายรุ่นและราคาถูกลง แม้ว่าไฟฟ้าที่ใช้จะยังผลิตมาจากเชื้อเพลิงฟอสซิลอยู่ แต่รถยนต์ไฟฟ้าก็ช่วยลดมลพิษทางอากาศและปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อยกว่ารถยนต์ที่ใช้แก๊สหรือดีเซลอย่างมีนัยสำคัญ
เลือกผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ทุกการใช้จ่ายของเราส่งผลกระทบต่อโลกทั้งสิ้น คุณมีอำนาจว่าจะเลือกสนับสนุนสินค้าและบริการใดเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ให้คุณซื้ออาหารตามฤดูกาลที่ผลิตในท้องถิ่น เลือกผลิตภัณฑ์จากบริษัทที่ใช้ทรัพยากรอย่างมีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นที่จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและของเสีย
เป็นกระบอกเสียง
เปล่งเสียงของคุณและชักชวนผู้อื่นให้ร่วมลงมือด้วยกัน นี่เป็นหนึ่งในวิธีที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพที่สุดในการสร้างการเปลี่ยนแปลง ชักชวนเพื่อนบ้าน เพื่อนร่วมงาน เพื่อน และครอบครัวของคุณ บอกให้ธุรกิจต่าง ๆ รู้ว่าคุณต้องการเห็นการเปลี่ยนแปลงที่กล้าหาญและชัดเจน ตลอดจนเรียกร้องให้ผู้นำท้องถิ่นและระดับโลกดำเนินการในทันที
โดยท่านสามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิถีชีวิตคาร์บอนต่ำจากรายงานช่องว่างการปล่อยมลพิษของ โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme) ปี 2020 ได้ที่นี่
ภาพ: Niccolo Canova
1 of 5

เรื่อง
15 มีนาคม 2023
ภารกิจเจ้าหน้าที่สิทธิมนุษยชน UN หญิงไทยในซูดานใต้ ประเทศใหม่ที่สุดในโลก
วันที่ 9 กรกฎาคม 2011 ชาวโลกได้รู้จัก ‘ซูดานใต้’ ประเทศใหม่ที่สุดของโลก ซึ่งเกิดขึ้นหลังไฟสงครามอันยืดเยื้อในแอฟริกาตะวันออก
ช่วงเวลาเดียวกัน ณ อีกซีกโลก วิภาณี ชำนาญไพสณฑ์ นักศึกษาด้านกฎหมายในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ติดตามข่าวจากทวีปแอฟริกาด้วยความสนใจ เธอติดตามเรื่องราวการสร้างประเทศใหม่ท่ามกลางความขัดแย้ง ยิ่งได้ข่าวว่าองค์การสหประชาชาติ (United Nations) มีภารกิจทำงานที่นั่น เธอยิ่งสนใจอยากจะทำงานในองค์การระหว่างประเทศแห่งนี้มากขึ้น
สิบปีผ่านไป ความฝันของเธอกลายเป็นจริง เมื่อได้รับตำแหน่งนักสิทธิมนุษยชน หรือ Human Rights Officer หญิงไทยหนึ่งเดียวในซูดานใต้ ผ่านโครงการอาสาสมัครขององค์การสหประชาชาติ (United Nations Volunteers : UNV) ซึ่งคอยทำงานสนับสนุนด้านสิทธิมนุษยชนให้กับ United Nations Mission in South Sudan หรือ UNMISS
เส้นทางความฝันที่ไม่เหมือนใครของเปิ้ล-วิภาณี เริ่มต้นขึ้นได้อย่างไร ซูดานใต้เป็นประเทศแบบไหน และทำไมคนไทยควรทำความรู้จักเรื่องราวสิทธิมนุษยชนในแอฟริกา ทีมสหประชาชาติในประเทศไทยต่อสายไปซูดานใต้ เพื่อหาคำตอบทุกประเด็นอย่างเต็มอิ่ม
ประตูบานใหม่ของนักกฎหมาย
“แต่ก่อนความคิดเรื่องอาชีพของนักศึกษานิติศาสตร์มีแค่ผู้พิพากษา อัยการ และทนาย เพราะเราไม่รู้ว่ามีทางเลือกอื่น ๆ เช่น ไปทำงานสายสิทธิมนุษยชน หรือเป็นทนายด้านสิทธิมนุษยชน แต่พอได้อ่านข่าวเกี่ยวกับยูเอ็น (องค์การสหประชาชาติ) เราก็รู้ว่ามันมีสายงานด้านนี้ เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เราเรียนต่อด้าน Human Rights และตัดสินใจเดินทางสายนี้”
ก่อนเรียนปริญญาโท เปิ้ลเล่าว่าเคยฝึกงานช่วงสั้น ๆ ในสำนักงานอัยการสูงสุด จึงรู้ตัวว่าตนเองไม่เหมาะกับระบบราชการ แต่สนใจงานภาคประชาสังคมที่เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น ได้คิดนอกกรอบมากกว่า จึงหันมาทำงานด้าน NGO ต่าง ๆ และเมื่อทางสหประชาชาติเปิดรับ Peacekeeping Mission หรือปฏิบัติการรักษาสันติภาพ ผ่านกระบวนการสรรหาโดยโครงการอาสาสมัครขององค์การสหประชาชาติ (United Nations Volunteers : UNV) เธอจึงสมัครด้วยความสนใจในด้านสิทธิมนุษยชน จนได้รับเลือกไปร่วมงานกับ UNMISS Human Rights ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการทำงานครั้งนี้
ตอนนี้เปิ้ลเป็นคนไทยคนเดียวในแผนกสิทธิมนุษยชน ท่ามกลางเพื่อนร่วมงานจากหลายประเทศ ทั้งชาวเอเชีย ยุโรป ละตินอเมริกา ซึ่งเป็นผลพวงจากการที่สหประชาชาติพยายามผลักดันเรื่องความหลากหลายทางเชื้อชาติในระบบสหประชาชาติ นอกจากนี้การผลักดันด้านความเท่าเทียมทางเพศก็ทำให้ผู้หญิงเข้ามาทำงานมากขึ้น หลังจากช่วงแรก ๆ ที่มีแต่เจ้าหน้าที่ชายและส่วนมากมาจากแอฟริกา ทั้งหมดร่วมทำภารกิจด้วยกันในประเทศเกิดใหม่ที่เพิ่งอายุครบรอบสิบปีไปไม่นาน และความขัดแย้งยังเกิดขึ้นอยู่เนือง ๆ
การเรียนรู้ในประเทศใหม่ที่สุดในโลก
“ตื่นเต้นเหนือความคาดหมายทุกอย่าง ชีวิตการทำงานเปิ้ลไม่เหมือนกันสักวันเลย”
เจ้าหน้าที่สหประชาชาติชาวไทยสรุปชีวิตการทำงานในเมืองจูบา เมืองหลวงของซูดานใต้ ซึ่งไม่ได้กันดารตามภาพจำในสื่อที่เธอเคยเห็น มีความสะดวกสบายและปลอดภัยกว่าจังหวัดอื่น ๆ แต่ออกไปไหนก็ยังต้องมีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยดูแล และมีเคอร์ฟิวเข้มงวด หลังหนึ่งทุ่มต้องกลับมาอยู่ในสำนักงานของสหประชาชาติเท่านั้น
งานหลักของ UNMISS คือปกป้องประชาชนและสิทธิมนุษยชน มีเจ้าหน้าที่ในเครื่องแบบทั้งทหาร ตำรวจ ที่ดูแลความปลอดภัย ป้องกันและระงับความรุนแรง ส่วนด้านสิทธิมนุษยชน แบ่งย่อยได้เป็นฝ่าย Capacity Building, Reporting และ Crisis Response เปิ้ลอยู่ทีม Capacity Building ทำหน้าที่แบ่งปันความรู้เรื่องสิทธิมนุษยชนให้ฝ่ายต่าง ๆ ในท้องที่ ทั้งภาครัฐ ทหาร ตำรวจ และองค์กรเพื่อสังคม โดยเฉพาะเรื่องสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานและกฎหมายด้านสิทธิมนุษยชนผ่านการเทรนนิ่ง
“สิทธิมนุษยชนถูกมองว่าเป็นคอนเซ็ปต์ของประเทศโลกที่หนึ่ง ของฝรั่งผิวขาว ซึ่งไม่ใช่คอนเซ็ปต์ของเอเชียและแอฟริกา คนที่นี่คิดว่าเรามาจากประเทศโลกที่หนึ่ง มาพูดจาสวยหรู ไม่เข้าใจบริบทประเทศเขาหรอก แต่เปิ้ลก็พยายามอธิบายว่าฉันมาจากประเทศไทย แม้เราไม่ได้มีความขัดแย้งทุกอณู แต่คนก็มีสิทธิ์ในการคิดต่างเหมือนกัน จริง ๆ แล้วสิทธิมนุษยชนสำคัญสำหรับทุกคน
“คนทั่วไปอาจมองว่าคนทำงานด้านสิทธิมนุษยชนอยู่ในโลกอุดมคติเกินไป ไม่ได้อยู่ในโลกความเป็นจริง ทุกวันนี้ปากท้องยังสำคัญมากกว่าอีก แต่จริง ๆ สิทธิมนุษยชนก็พูดเรื่องปากท้อง เศรษฐกิจสังคม ถ้าคนเข้าใจว่าสิทธิมนุษยชนคืออะไร เขาจะไม่ได้คิดว่าเราโลกสวย”
ประเด็นใหญ่แบบนี้ขับเคลื่อนไม่ง่าย ในประเทศที่ผู้คนรู้สึกว่าแค่เอาชีวิตให้รอดในแต่ละวันก็ยากแล้ว เดี๋ยวข้างบ้านก็โดนระเบิดลง เดี๋ยวคนใกล้ตัวก็โดนยิงโดนฆ่า ชีวิตคนเปราะบาง จนวัวที่นี่มีค่าสูงมาก กรณีวิวาทฆ่ากันตายเพราะวัวตัวเดียวก็มี เมื่อเทียบกับประสบการณ์ทำงานในอาเซียนด้านการจัดการสิทธิดิจิทัลหรือความเป็นส่วนตัว เปิ้ลได้กลับมาผลักดันสิทธิพื้นฐาน อย่างสิทธิในการเข้าถึงน้ำสะอาด อาหาร หรือสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ รวมไปถึงสิทธิของผู้หญิงและเด็ก
“บริบทของที่นี่คือหญิงชายไม่เท่าเทียมกัน ที่นี่ประเด็นนี้ยังเป็นเรื่องใหญ่ ผู้หญิงและเด็กถูกละเมิดสิทธิเยอะ ผู้หญิงถือเป็นสมบัติของผู้ชาย พ่อหรือสามีขายลูกสาวหรือภรรยาให้แต่งงานหรือค้าบริการทางเพศได้ เคยถามทหารหญิงซูดานใต้ว่าทำไมเขาเลือกมาเป็นทหาร เขาบอกว่าถ้าไม่เป็นทหารหรือตำรวจจะถูกขาย เขาทำงานนี้ดีกว่า เพราะเลือกทางเดินชีวิตเขาเองได้
“เปิ้ลได้เรียนรู้จากเขาเยอะมาก ไม่ใช่แค่เราสอนเขา แต่เราได้แลกเปลี่ยนกัน ทหารหญิงเข้าใจเรื่องนี้ดีมาก เพื่อนหญิงพลังหญิง จบเทรนนิ่งก็ร้องเพลงให้ฟัง ซัปพอร์ตเรามาก ยิ่งทำให้เราอยากผลักดันเรื่องความเท่าเทียมทางเพศให้มากขึ้น”
เดินหน้าเพื่อสิทธิมนุษยชน
“ธรรมชาติของคนเอเชียเราขี้สงสาร แต่ในมุมของสิทธิมนุษยชน ไม่อยากให้ใช้คำว่า Sympathy แต่เป็น Respect ทำอย่างไรให้คนเข้าใจเรื่องการเคารพทั้งตัวเราเองและเพื่อนรอบข้างเรา เราใช้คำว่า Respect เยอะมากในการเทรนนิ่ง เคารพผู้อื่นในฐานะมนุษย์คนหนึ่ง ไม่ต้องมองสีผิว เพศสภาพ หรือทัศนคติ และเคารพตัวเอง ถ้าเราเคารพตัวเอง ก็เคารพคนข้าง ๆ ด้วย ถ้าไปละเมิดสิทธิคนอื่น คุณก็ไม่ได้เคารพตัวเอง”
เปิ้ลอธิบายใจความหลักของสิ่งที่เธอสื่อสารทุกวัน พร้อมยกตัวอย่างผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญาซึ่งเคยเป็นประเด็นใหญ่ในเมืองไทย แทนที่จะมองคนเหล่านี้ด้วยความสงสาร แต่ลองเอาใจเขามาใส่ใจเรา ว่าหากเราอยู่ในประเทศที่รัฐบาลไม่เคารพประชาชน สถานการณ์ทางการเมืองรุนแรงไม่แน่ไม่นอน ก็อาจเจอสถานการณ์แบบเดียวกันได้ เมื่อลองสวมหมวกเป็นฝ่ายที่ถูกละเมิดสิทธิ เราจะเข้าใจได้ไม่ยากเลยว่าควรปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างไร ในฐานะเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน
ด้วยเนื้อหางานที่เห็นความโหดร้ายและความไม่เป็นธรรมต่าง ๆ ทำให้คนทำงานภาคสังคมเครียดและหมดไฟเอาได้ง่าย ๆ เปิ้ลบอกว่าเป็นเรื่องสำคัญที่เพื่อนร่วมงานสายเดียวกันต้องประคับประคองกันและกัน โชคดีที่ชาวซูดานใต้เติมเต็มกำลังใจเธอให้เต็มเปี่ยมอยู่เสมอ
“การทำงานกับภาคประชาสังคมที่นี่ ได้เรียนรู้ ได้ชุบชูหัวใจมาก เราทำงานภาคประชาสังคมที่เมืองไทยมาเยอะ ก็รู้สึกว่าเรายังสู้ไม่ได้เท่าที่นี่ อย่างกลุ่มผู้มีความพิการที่นี่ เขาสู้ทั้งตัวและหัวใจ ด้วยทั้งสภาพความเป็นอยู่เขาเองในพื้นที่ขัดแย้งรุนแรง และสู้เพื่อสิทธิของคนอื่น ๆ ไม่ได้ทำงานแค่เพื่อตัวเขาเอง”
“สิ่งที่เปิ้ลและกลุ่มคนพิการร่วมมือกัน คือพยายามผลักดันให้รัฐบาลประกาศรับรองสิทธิ์ของผู้มีความพิการ ตอนนี้รัฐบาลก็รับปากแล้วว่าจะลงนามเซ็นสัญญา เรามองเห็นทางสว่าง เขาบอกว่าเขาสู้มาหลายปีแล้ว ยังไม่ขยับไปไหนเลย แต่ช่วงปีที่เรามาทำงานก็ได้ช่วยดึงเรื่องนี้กลับมา พยายามผลักดันและเรียกตัวแทนของภาครัฐมาคุยกับภาคประชาสังคมมากขึ้น จนได้จัดงาน Public Consultation ตัวภาครัฐและประชาสังคมจะได้จับมือกันแล้วไปให้สัตยาบันอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิผู้มีความพิการนี้สักที เพราะซูดานใต้เป็นประเทศเดียวในแอฟริกาที่ยังไม่ให้สัตยาบันการคุ้มครองสิทธิของผู้มีความพิการ เรื่องนี้เลยเป็นเรื่องที่มีความหมายกับเรามาก"
นอกจากการเทรนนิ่งเรื่องสิทธิมนุษยชน การร่วมมือกับภาคประชาสังคมท้องถิ่น งานของ Human Rights Officer ยังมีประเด็นอื่น ๆ อย่างการทำ Mobile Court หรือ ‘ศาลเคลื่อนที่’ พาผู้พิพากษาจากเมืองจูบาไปจังหวัดอื่น ๆ เพื่อดำเนินคดีกับคนที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนร้ายแรง แสดงให้เห็นว่าการละเมิดสิทธิมีผลลัพธ์ตามมา ไม่ว่ามียศตำแหน่งสูงขนาดไหน เมื่อทำผิดก็ต้องรับผิดชอบสิ่งที่ทำลงไป
งานของฝ่ายสิทธิมนุษยชนยังมีโปรเจกต์ด้านศิลปวัฒนธรรม Human Rights Film Festival ให้คนซูดานใต้ถ่ายสารคดีชีวิตประจำวัน โดยมีประเด็นที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน แล้วฉายทั่วจูบา ซึ่งเปิ้ลบอกว่าจัดต่อเนื่องมา 7 ปีแล้ว เปิดโอกาสให้คนซูดานใต้ที่สนใจการถ่ายทำภาพยนตร์ได้แสดงฝีมือ และทำให้คนเข้าใจว่าสิทธิมนุษยชนเป็นเรื่องใกล้ตัวมากแค่ไหน
ในอนาคต วิภาณีหวังว่าจะได้ลงพื้นที่ในเมืองอื่น ๆ นอกเมืองหลวงจูบา และทำงานด้าน Human Rights Investigation หรือการสอบสวนเรื่องสิทธิมนุษยชน ซึ่งจะทำให้เธอเข้าใกล้ปมปัญหาด้านสิทธิไปอีกก้าว
ฟันเฟืองเล็ก ๆ เพื่อวันพรุ่งนี้
“การทำงานสายสิทธิมนุษยชน เราถูกสอนมาว่ามันไม่ได้แก้ไขได้ในปีสองปีหรือในช่วงอายุเรา แต่การลุกขึ้นมาทำบางอย่าง ย่อมดีกว่าไม่ทำอะไรเลย ตอนเริ่มงานสายนี้ใหม่ ๆ ก็ท้อเหมือนกัน เพราะรู้สึกว่าไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงในทันที เปิ้ลทำงานสายนี้เข้าปีที่เจ็ดแล้ว ทั้งรุ่นพี่หรือเจ้านายต่างบอกว่าเราเห็นการเปลี่ยนแปลงในชั่วดีดนิ้วไม่ได้ แต่ก็ยังดีกว่าเราถอดใจตั้งแต่ตอนนี้ เราสร้างความเปลี่ยนแปลงทีละเล็กทีละน้อย ไม่ได้เห็น End Game ตั้งแต่ตอนต้น แต่อย่างน้อยเราก็ได้ทำ”
มองย้อนกลับมาที่เมืองไทย นักสิทธิมนุษยชนในไทยทำงานหนักต่อเนื่องมาหลายทศวรรษ ทั้งการต่อสู้จนได้พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ หรือสิทธิการลาคลอดที่ทำให้หญิงไทยในปัจจุบันมีสิทธิลาคลอดนานถึง 98 วัน
“ถ้าไม่ได้หญิงแกร่งในยุคนั้น เราก็คงไม่ได้เส้นทางขนาดนี้ อย่างน้อยถ้าตัวเราไม่ได้เห็นความเปลี่ยนแปลงตอนนี้ แต่อยากให้คนรุ่นหลังเห็นว่าป้าเปิ้ล หรือ ย่าเปิ้ล ลุกขึ้นมาทำอะไรซักอย่าง เราเป็นฟันเฟืองเล็ก ๆ ที่อาจจะช่วยสร้างความเปลี่ยนแปลง” วิภาณีเอ่ยด้วยความมุ่งมั่น
“แค่ปีเดียวที่นี่ก็ทำให้เราได้เรียนรู้มากกว่าทำงานเดิมมา 5-6 ปี โลกนี้มันกว้างมาก มาที่นี่ได้เรียนรู้ ได้คิดนอกกรอบ ได้เจอเพื่อนหลากหลายพื้นเพมากขึ้น เปิ้ลได้ย้อนกลับมาเข้าใจตัวเองว่านี่คือสิ่งที่ทำให้เราอยากทำงานด้านสิทธิมนุษยชน ที่นี่ยังอยู่ในช่วงการสร้างประเทศ ตั้งแต่สิบปีที่แล้วถึงปัจจุบันก็ยังสู้กันเองหนักมาก จนเป็นหนึ่งในประเทศที่ส่งออกผู้ลี้ภัยอันดับต้น ๆ ของโลก แต่เขาก็ยังพยายามสร้างประเทศขึ้นมา เขาสร้างแรงขับเคลื่อน แรงบันดาลใจให้ตัวเปิ้ล เป็นพลังให้เราอยากเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสันติภาพให้เขา”
โครงการอาสาสมัครขององค์การสหประชาชาติ (United Nations Volunteers : UNV) เป็นโครงการที่ก่อให้เกิดสันติภาพและการพัฒนาผ่านอาสาสมัครทั่วโลก UNV ทำงานอยู่ใน 140 ประเทศทั่วโลกในโครงการพัฒนาต่างๆขององค์การสหประชาชาติ อ่านข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ UNV และดูตำแหน่งที่เปิดรับสมัครได้ที่ https://app.unv.org
เรื่อง ภัทรียา พัวพงศกรภาพ, เรียบเรียง มิ่งขวัญ รัตนคช, ศิริณัฐ จรัสโชติสุนทร
Tags: #IWD2023 #UNVolunteers #GlobalGoals
1 of 5

เรื่อง
08 กุมภาพันธ์ 2023
ปลัด มท. มอบนโยบายผู้ว่าฯ 14 จังหวัดภาคใต้ เน้นย้ำการทำงานแบบ Partnership ส่งเสริมกลไก “กรมการอำเภอ” และ “หย่อมบ้าน” ร่วมพัฒนาไทยสู่ความยั่งยืนกับสหประชาชาติ
เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ได้เป็นประธานการประชุมขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทย โดยมี ดร.วันดี กุญชรยาคง จุลเจริญ นายกสมาคมแม่บ้านมหาดไทย นางกีต้า ซับบระวาล (Mrs. Gita Sabharwal) ผู้ประสานงานสหประชาชาติประจำประเทศไทย นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน นางจิณณารัชช์ สัมพันธรัตน์ ประธานชมรมแม่บ้านพัฒนาชุมชน ผู้ว่าราชการจังหวัด 14 จังหวัดภาคใต้ หัวหน้าส่วนราชการในสังกัดกระทรวงมหาดไทย นายอำเภอ ผู้อำนวยการกลุ่มงาน ในพื้นที่จังหวัดพัทลุง และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ร่วมประชุมที่ห้องประชุมสภามหาวิทยาลัย อาคารบริหารและสำนักงานกลาง มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง
นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย กล่าวว่า วันนี้เป็นโอกาสดีของประชาชนในจังหวัดพัทลุง และ 14 จังหวัดภาคใต้ที่ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา เสด็จไปทรงเปิดป้ายสนามกีฬาสิริวัณณวรี และเสด็จไปทอดพระเนตรนิทรรศการและการจัดงานแสดงผลิตภัณฑ์ผ้าไทยและงานหัตถกรรมชุมชน ณ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ด้วยพระราชปณิธานในการอนุรักษ์และต่อยอดผ้าไทยตามพระราชดำริของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง โดยพระองค์ได้พระราชทานหนังสือ Sustainable City ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทย นายกสมาคมแม่บ้านมหาดไทย อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน และประธานชมรมแม่บ้านพัฒนาชุมชน นำมาขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านยั่งยืน (Sustainable Village)
ทั้งนี้ ตลอด 3 ปีที่ผ่านมา พระองค์ทรงงานด้านภูมิปัญญาผ้าไทยและงานหัตถศิลป์อย่างต่อเนื่อง ทรงส่งเสริมการพัฒนาทักษะให้กับช่างและผู้ประกอบการผ้าไทย ทั้งยังพระราชทานแนวทางการนำพืชท้องถิ่นมาใช้เป็นสีธรรมชาติแทนสีเคมี และทรงสนับสนุนการปลูกฝ้าย ปลูกหม่อน เลี้ยงไหม โดยพื้นที่ที่ไม่เอื้อให้ปลูก กระทรวงมหาดไทยโดยกรมการพัฒนาชุมชนและผู้ว่าราชการจังหวัดได้ทำการจับคู่เกษตรกรแต่ละภูมิภาคให้มาแลกเปลี่ยนวัสดุกัน เช่น ตลาดผ้าไหมปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา โดยปัจจุบันหลายกลุ่มได้เริ่มจับคู่และพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีความยั่งยืนแล้ว
นอกจากนี้ นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ยังได้กล่าวถึงการร่วมลงนามประกาศเจตนารมณ์เพื่อประเทศไทยที่ยั่งยืน (Statement of Commitment to Sustainable Thailand) ด้วยแนวคิด Change for Good “โลกนี้เพื่อเรา” ร่วมกับองค์การสหประชาชาติ ของผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัดของไทย เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2565 ว่ากระทรวงมหาดไทยได้น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาใช้ตั้งเจตจำนง “1 จังหวัด 1 คำมั่นสัญญา เพื่อการพัฒนา เพื่อความเท่าเทียม เพื่อความยั่งยืน เพื่อคนไทย”
และได้มอบปณิธาน “บำบัดทุกข์ บำรุงสุข” รวมถึงนโยบายการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนข้อ 17 ซึ่งมุ่งยกระดับหุ้นส่วนความร่วมมือของหลายภาคส่วนแก่ผู้ว่าราชการจังหวัดทั้ง 14 จังหวัด โดยเน้นย้ำถึงความสำคัญของการทำงานแบบ Partnership และสนับสนุนให้รื้อฟื้นกลไก “กรมการอำเภอ” โดยกลไกดังกล่าวจะช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสร้างระบบ “หย่อมบ้าน” หรือ “คุ้ม” ให้เกิดขึ้นในทุกหมู่บ้าน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตพี่ประชาชนโดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
ด้านนายณรงค์ วุ่นซิ้ว ผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต ได้กล่าวขอบคุณปลัดกระทรวงมหาดไทย และนายกสมาคมแม่บ้านมหาดไทย ที่ให้การสนับสนุนจังหวัดภูเก็ตในการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพ Expo 2028 Phuket Thailand ปี พ.ศ. 2571 ภายใต้ธีมงาน Future of Life : Living in Harmony, Sharing Prosperity ชีวิตแห่งอนาคต-แบ่งปันความรุ่งเรือง เพื่อแสดงศักยภาพให้ทั่วโลกเห็นถึงผลลัพธ์แห่งการพัฒนาที่ยั่งยืนของทุกภาคส่วนของไทย ของจังหวัดภูเก็ต
จากนั้น นางกีต้า ซับบระวาล (Mrs. Gita Sabharwal) ผู้ประสานงานสหประชาชาติประจำประเทศไทย ได้กล่าวชื่นชมบทบาทของผู้ว่าราชการจังหวัดและผู้บริหารจังหวัดทุกท่าน ที่มุ่งมั่นขับเคลื่อนให้สังคมและชุมชนเดินหน้าพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยปัจจุบันทีมงานสหประชาชาติทั้ง 21 หน่วยในประเทศไทย ได้ทำงานสอดประสานเป็นแนวทางเดียวกับทุกจังหวัด เพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ทั้ง 17 ข้อ อย่างเป็นองคาพยพ และการลงนามประกาศเจตนารมณ์เพื่อประเทศไทยที่ยั่งยืน เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2565 ก็นับเป็นการประสานความร่วมมือที่แน่นแฟ้นขึ้นขององค์การสหประชาชาติและทุกจังหวัด นับจากนี้การบริหารจัดการในหลายมิติจะยิ่งมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยเฉพาะการพัฒนาเยาวชนสู่ทักษะแห่งอนาคตอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology : ICT) ตลอดจนอุตสาหกรรมความคิดสร้างสรรค์ การคิด และการเขียน
1 of 5

เรื่อง
03 กุมภาพันธ์ 2023
เปรมศักดิ์ แสงจันทร์ ผู้ขับเคลื่อนสุขภาวะของเยาวชนกลุ่มเปราะบางผ่านการสร้างพื้นที่ปลอดภัย
SDGs Youth Panel
เปรม-เปรมศักดิ์ แสงจันทร์ กำลังศึกษาอยู่ในคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และยังเป็นหนึ่งในแกนนำเยาวชนของมูลนิธิเครือข่ายเยาวชน Little Birds หรือที่มีชื่อเล่นว่า ‘บ้านลูกนก’ พื้นที่ปลอดภัย เพื่อโอบอุ้มค้ำจุนเยาวชนกลุ่มเปราะบางที่ขาดโอกาสรวมถึงที่พึ่งพิง โดยเฉพาะเยาวชนผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี ที่ส่วนใหญ่ติดเชื้อนี้ผ่านแม่มาตั้งแต่แรกเกิด
แม้ทุกวันนี้ เราจะทราบกันดีแล้วว่าผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่กินยาต้านไวรัสอย่างสม่ำเสมอ จะสามารถใช้ชีวิตในสังคมได้ตามปกติ ทั้งยังมีชีวิตยืนยาวได้อย่างคนทั่วไป ซึ่งในมุมมองของเยาวชนและวัยรุ่นโดยปกติ ก็เผชิญความท้าทายในการเติบโตเป็นผู้ใหญ่อยู่แล้ว แต่ลองคิดดูว่าวัยรุ่นที่มีเชื้อเอชไอวีจะใช้ชีวิตยากลำบากกว่าแค่ไหน หากพวกเขาส่วนใหญ่ยังถูกตีตราจากสังคม Little Birds จึงเกิดขึ้นเพื่อเป็นบ้านที่อุ้มชูและสนับสนุนการใช้ชีวิตแก่น้อง ๆ
นอกจากจะเป็นที่ปรึกษา รับฟัง และให้คำแนะนำการใช้ชีวิตแก่สมาชิกในมูลนิธิ เปรมยังเล็งเห็นความสำคัญของความรู้ความเข้าใจด้านการเงิน เพราะเยาวชนส่วนใหญ่ในกลุ่มนี้ต้องทำงานและยืนด้วยสองขาของตัวเองตั้งแต่อายุน้อย เปรมจึงก่อตั้งโปรเจกต์ให้คำปรึกษาด้านการเงินกับเพื่อน พี่ น้องในมูลนิธิขึ้น เพื่อให้ทุกคนได้เรียนรู้วิธีบริหารจัดการเงินอย่างถูกต้อง
เมื่อปีที่ผ่านมา เปรมได้รับการคัดเลือกโดย 21 หน่วยงานสหประชาชาติในประเทศไทยเข้าเป็นหนึ่งในสมาชิกของคณะที่ปรึกษาเยาวชนแห่งสหประชาชาติ (Youth Panel for Sustainable Development Goals : SDGs Youth Panel) ที่ร่วมกันระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทยในมุมมองคนรุ่นใหม่ ส่งต่อไปยังผู้นำประเทศ นอกจากนี้เขายังเป็นสมาชิกคณะกรรมการที่ปรึกษาเยาวชน (Young People Advisory Board : YPAB) ร่วมกับนักขับเคลื่อนรุ่นใหม่อีกกว่า 60 คน ขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ หรือ ยูนิเซฟ (UNICEF) เพื่อส่งต่อความคิดเห็นของเด็กและเยาวชนไปสู่การวางแผนพัฒนาด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะเสียงของน้อง ๆ กลุ่มเปราะบางและผู้ขาดโอกาส
“การเรียนคณะนิติศาสตร์ ทำให้ผมเข้าใจว่ากฎหมายต้องถูกปรับเปลี่ยนอยู่เสมอให้เท่าทันบริบทและค่านิยมของสังคม เช่นเดียวกับการพัฒนาประเทศ ก่อนหน้านี้เราอาจถูกสอนกันมาว่าต้องเชื่อฟังผู้ใหญ่ แต่ตอนนี้บริบทของสังคมเปลี่ยนไปแล้ว การพัฒนาจะมีประสิทธิภาพและยั่งยืนเมื่อคนทุกวัยหันหน้ามาคุยกัน และผมดีใจที่เห็นสิ่งนี้กำลังเติบโตขึ้นในประเทศของเรา”
โลกในสองมุมมอง
เปรมเริ่มเล่าว่า “ผมไม่ได้เติบโตมากับความมั่งมี หรือสุขสบายอย่างหลายๆ คน การมีวัยเด็กในสถานสงเคราะห์และต่อมาได้รับโอกาสเข้าศึกษาในโรงเรียนนานาชาติทำให้ผมได้เห็นโลกในสองมุมมอง คือมุมของคนที่ไม่ได้มีมาก และมุมของคนที่มีพร้อมกว่าในสังคม ซึ่งทั้งสองมุมมองแตกต่างกันมาก เรียกว่าสุดขั้วเลยก็ได้ ชีวิตในโรงเรียนที่มีเพื่อนและครูหลากหลายเชื้อชาติยังหล่อหลอมวิธีคิดและทัศนคติแบบสากลให้ผมด้วย”
เปรมมองว่าระบบการเรียนในโรงเรียนนานาชาติ ที่คุณครูไม่ใช่แค่สอนจากหน้าห้องเพียงอย่างเดียว แต่เน้นพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รีบหาคำตอบให้อย่างเต็มใจเมื่อนักเรียนมีคำถามหรือข้อสงสัย รวมถึงทำงานร่วมกับนักเรียนอย่างสนุกสนาน คือบรรยากาศที่กระตุ้นให้เด็ก ๆ กล้าที่จะถกเถียงแลกเปลี่ยนทัศนคติกันอย่างเปิดใจ และนำไปสู่ทักษะคิดวิเคราะห์ที่จะติดตัวเด็กไปจนถึงเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่
“ช่วงที่ผมอยู่ชั้นมัธยมปลาย เรื่องความเป็นประชาธิปไตยถูกพูดถึงมากขึ้น มีการประท้วง การแสดงความคิดเห็นทางการเมืองที่กว้างขวางกว่าแต่ก่อน และประสบการณ์ของผมต่อโลกในสองมุมมอง ทำให้ผมเห็นภาพได้ชัดเจนขึ้นว่าความเป็นอยู่ของผู้คนล้วนเกี่ยวข้องกับนโยบายประเทศ ผมสนใจเรื่องการเมืองมาตั้งแต่นั้น ยิ่งได้ถกเถียงกับครูที่โรงเรียน ยิ่งรู้สึกอินมาก ผมเลยเลือกเรียนคณะนิติศาสตร์”
อย่างไรก็ตาม มีเยาวชนอีกหลายคนที่ไม่สามารถปรับตัวหรือมีโอกาสที่ดีอย่างเปรม “เมื่อเรียนจบก็ต้องออกจากสถานสงเคราะห์ ซึ่งเยาวชนหลายคนไม่รู้จักการเข้าสังคม เพราะตลอดชีวิตของเขาเติบโตมาในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างจากเด็กทั่วไปมาก ไม่มีผู้ปกครอง ไม่มีพ่อแม่ หรืออาจจะมีญาติที่ไม่ได้ไปมาหาสู่กันนัก บางคนไปทำงานข้างนอก แต่ก็ไม่สามารถรับมือเรื่องการเงินได้ อย่างช่วงโควิด-19 ที่ผ่านมา เพื่อนของผมหลายคนก็ตกงาน เป็นหนี้เป็นสิน เพราะเขายังต้องจ่ายค่าที่พัก ยังต้องกินต้องใช้”
มูลนิธิเครือข่ายเยาวชน Little Birds จึงเกิดขึ้น เมื่อหลายปีก่อน จากการรวมตัวกันของพี่ๆ น้องๆ จากสถานสงเคราะห์ ที่มองเห็นความยากลำบากของการเริ่มต้นชีวิตในสังคม โดยบ้านลูกนกแห่งนี้จะเป็นพื้นที่ปลอดภัยซึ่งช่วยเหลือเรื่องที่พักพิง อาหารการกิน เครื่องนุ่งห่ม แก่เยาวชนหลายกลุ่ม รวมถึงน้องๆ ที่ติดเชื้อเอชไอวีตั้งแต่แรกเกิด และน้องๆ ที่อาจกำลังประสบปัญหา เช่น ท้องไม่พร้อม มูลนิธิก็จะช่วยให้การสนับสนุนและดูแลกันไปก่อน ในระหว่างที่ทุกคนกำลังค่อยๆ ยืนหยัดในสังคมอย่างมีคุณภาพ
“ผมเป็นวัยรุ่นคนหนึ่งที่ได้รับโอกาสทางด้านการศึกษาและได้เรียนภาษาอังกฤษตั้งแต่เด็ก อีกทั้งยังได้รู้จักมูลนิธิ Little Birds ตั้งแต่ก่อตั้งแรก ๆ ดังนั้นเมื่อสองสามปีก่อน ตอนเข้ามหาวิทยาลัย พี่ๆ จึงเห็นว่าผมน่าจะเป็นแกนนำเยาวชนช่วยเหลือน้องๆ ได้ เลยชักชวนมาเป็นทีมแกนนำที่ทำงานด้วยกัน เราอาจไม่มีระบบการทำงานที่ซับซ้อนแบบมูลนิธิใหญ่อื่น ๆ แต่แน่นแฟ้นแบบครอบครัว”
บ้านลูกนกที่ค้ำจุน
เปรมเล่าว่าเยาวชนหลายคนในเครือข่าย Little Birds ได้รับเชื้อจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวีตั้งแต่เกิด พวกเขามีความเปราะบางกว่าเยาวชนที่ขาดโอกาสทั่วไป เพราะนอกจากปัญหาตามประสาวัยรุ่นอย่างการค้นหาตัวเอง การเรียน ความรัก ไปจนถึงเรื่องยาเสพติด หรือท้องวัยเรียนแล้ว พวกเขายังต้องกินยาต้านไวรัสที่ช่วยฟื้นฟูภูมิคุ้มกันของร่างกายอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจำเป็นต้องกินอย่างสม่ำเสมอทุกวันไปตลอดชีวิต
“แค่กินยาต้านไวรัสทุกวันอาจฟังดูไม่ยาก แต่ทำไมยังเจอปัญหาว่าน้องหลายคนขาดการกินยา ทั้งที่เขาก็รู้ว่ามันดีกับตัวเอง เมื่อเราได้ทำความเข้าใจก็พบว่าน้องบางคน ตอนแรกใช้สิทธิบัตรทอง แต่ต่อมาย้ายมาใช้สิทธิประกันสังคม ช่วงรอยต่อนี้ทำให้เขาไม่สามารถไปรับยาได้ พอกลับไปรับยาอีกที ก็ถูกเจ้าหน้าที่ดุแรง ๆ เขาเลยไม่ยอมเข้าไปรับยาอีก เพราะกลัวโดนต่อว่าอีก หรือบางคนไม่อยากกินยา เพราะรู้สึกว่ามันเป็นการตอกย้ำว่าเขามีเชื้อเอชไอวีอยู่ในตัว น้องทุกคนมีเหตุผลของตัวเอง และนี่คือสิ่งที่ Little Birds กำลังพยายามคลี่คลายไปทีละขั้น”
แม้สถานสงเคราะห์จะมีเจ้าหน้าที่คอยดูแล แต่ก็ไม่อาจเทียบได้กับการมีครอบครัวคอยให้การโอบอุ้ม เครือข่าย Little Birds จึงทำหน้าที่เป็นต้นไม้ใหญ่ที่มอบที่พักพิงให้กับน้อง ๆ แทน เพื่อแนะนำถึงวิธีเข้าสังคม การรับมือกับ
สถานการณ์ต่างๆ เช่น การจัด workshop ให้กำลังใจ สร้างคุณค่าในตัวสมาชิกให้เขา โดยการทำให้เขานึกถึงสิ่งที่เขาเก่ง ที่เขาทำได้ดีในที่ผ่านมาหรือที่เป็นตัวเขา นอกจากนั้นยังให้เพื่อน ๆ พูดถึงข้อดีของเขา กิจกรรมดังกล่าว ก็จะทำให้เขาเห็นคุณค่าและรักตัวเองมากขึ้น อีกทั้งยังจะช่วยลดปัญหาของการตีตราตนเอง (self-stigma) ของน้อง ๆ สมาชิก
การทำงานร่วมกับรุ่นพี่นักขับเคลื่อนหลายคนที่มีประสบการณ์และความรู้ ทำให้เปรมและแกนนำเยาวชนคนอื่นๆ ได้เรียนรู้ที่จะให้คำปรึกษาอย่างไม่ตัดสินและบีบบังคับ “เราจะไม่เอาประสบการณ์ของตัวเองไปชี้ว่าน้องต้องทำอย่างนั้นอย่างนี้ เราเพียงบอกเขาว่ามันมีทางอะไรบ้าง แต่ละเส้นทางมีข้อดีข้อเสียอย่างไร ไม่ว่าเขาจะตัดสินใจเลือกเส้นทางไหน เราจะอยู่ด้วยตลอดการเดินทาง”
เปรมมองว่า ความเข้าใจทางการเงินเป็นอีกหนึ่งทักษะสำคัญที่จะทำให้เยาวชนเติบโตออกไปใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ แม้ที่ผ่านมาเครือข่าย Little Birds มอบเงินช่วยเหลือน้องบางคน แต่นั่นไม่ใช่วิธีแก้ปัญหาที่ยั่งยืน เปรมจึงก่อตั้งโปรเจกต์ให้คำปรึกษาด้านการเงินกับเพื่อน พี่ น้องในมูลนิธิ เพื่อให้ทุกคนรู้วิธีบริหารจัดการเงินอย่างถูกต้อง ซึ่งจะนำไปสู่การลงทุนและความมั่นคงทางด้านการเงินในระยะยาว
เครือข่ายที่เชื่อมโยงถึงกัน
เมื่อปีที่ผ่านมา เปรมได้เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการที่ปรึกษาเยาวชน (Young People Advisory Board) หรือ YPAB ร่วมกับคนรุ่นใหม่กว่าอีก 60 คน ที่ล้วนทำงานผลักดันประเด็นทางสังคมอย่างหลากหลาย เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมอย่างมีความหมาย ให้แน่ใจว่าความคิดเห็นของเด็กและเยาวชน โดยเฉพาะเสียงของน้องๆ กลุ่มเปราะบางและผู้ขาดโอกาส จะถูกรับฟังและนำไปใช้วางแผนการพัฒนาโดยยูนิเซฟและเครือข่ายพันธมิตร
“จากเดิมผมเห็นโลกของเด็กที่มีพร้อมและเด็กที่ขาดโอกาสในกรุงเทพฯ การเข้ามาเป็น YPAB ทำให้มุมมองของผมเปิดกว้างมากขึ้น ว่าจริง ๆ แล้วยังมีเด็กและเยาวชนกลุ่มเปราะบางในพื้นที่อื่นๆ อีกมากมาย อย่างเพื่อนคนหนึ่งใน YPAB เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยในพื้นที่ทุรกันดาร ห่างไกลความเจริญ เยาวชนกลุ่มนี้ก็มีปัญหาและความท้าทายในบริบทของตัวเองที่ต่างออกไป เช่น ปัญหาการเข้าถึงระบบการศึกษาอย่างเท่าเทียม”
นอกจากนี้ยังมีประเด็นอื่น ๆ ที่ถูกหยิบยกขึ้นมาตามความสนใจและภูมิหลังการทำงานของเยาวชนสมาชิก YPAB แต่ละคน อย่างหัวข้อสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อการใช้ชีวิตของคนเจเนอเรชั่นถัดไป หัวข้อรอยต่อของชีวิตวัยรุ่นในช่วงเปลี่ยนผ่านจากโรงเรียนไปสู่ระดับมหาวิทยาลัย และหัวข้อสุขภาพและสุขภาวะ ซึ่งเป็นหัวข้อหลักในการทำงานของเปรม
“ผมได้มุมมองใหม่ ๆ กลับมาเยอะมากเช่นกัน จากการระดมความคิดเห็นของสมาชิกในกลุ่มหัวข้อสุขภาพและสุขภาวะ อย่างประเด็นสุขภาพจิตที่เพื่อนนักเรียนแพทย์ทุกคนให้ความสำคัญอย่างมาก เขาเล่าว่าทุกวันนี้ที่คณะแพทย์ศาสตร์มีจิตแพทย์และนักจิตบำบัดมาประจำการให้คำปรึกษาด้วย หากนักศึกษาเกิดความเครียด ไม่ว่าจะจากการเรียนหรือชีวิตส่วนตัว ก็สามารถเข้าไปพูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญได้เลย ค่านิยมว่าการไปพบจิตแพทย์เป็นเรื่องน่าอายต้องหมดไป และการเข้ารับการบำบัดก็ควรถูกทำให้เข้าถึงได้ง่ายจากทุกคน
จากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในโครงการ YPAB ทำให้เปรมได้รับแรงบันดาลใจที่จะใช้วิธีเหล่านี้ในกลุ่ม Little Birds โดยเปรมเล่าอย่างกระตือรือร้นว่า “โอ้โฮ ผมทึ่งมาก อย่างที่เล่าถึงเยาวชนหลายคนซึ่งเป็นผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี การใช้ชีวิตแต่ละวันของพวกเขามีความเครียดสูงมาก เพราะทั้งต้องกินยารักษาตัวและยังต้องต่อสู้กับการถูกสังคมตีตรา
เป็นอีกประเด็นที่ผมจะนำกลับไปทำงานต่อกับพี่ๆ น้องๆ ใน Little Birds ว่าเราจะพัฒนาการดูแลรักษาจิตใจเยาวชนในมูลนิธิได้ยังไงบ้าง”
ปรับเปลี่ยนให้เท่าทันยุคสมัย
นอกจากนี้ เปรมยังได้ร่วมงานประชุมวันเอดส์โลก ในฐานะสมาชิก YPAB ที่ขับเคลื่อนประเด็นด้านสุขภาพและสุขภาวะ รวมถึงทำงานคลุกคลีกับเยาวชนผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี โดยในงานครั้งนั้น เปรมมองว่าเป็นโอกาสดีที่จะได้สื่อสารความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากทัศนคติของเยาวชนจริง ๆ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากมายมารับฟังภายในงาน
“ผู้ใหญ่ถามว่า เราจะลดการติดเชื้อเอชไอวีในเยาวชนและคนรุ่นใหม่ลงได้ยังไง ผมมองว่าอย่างแรกคือต้องเข้าใจพฤติกรรมของวัยรุ่นจริงๆ เสียก่อน ตัวอย่างที่เห็นภาพชัดเจนที่สุดคือเรื่องถุงยางอนามัย จริงอยู่ที่ทุกวันนี้มีถุงยางอนามัยแจกฟรีตามสถานพยาบาล แต่ถุงยางอนามัยเหล่านั้นทั้งหนา ทั้งฝืดไม่ค่อยมีสารหล่อลื่น แถมยังตั้งอยู่ในจุดที่เข้าถึงลำบาก อย่าลืมว่าวัยรุ่นส่วนใหญ่ไม่ได้เข้าโรงพยาบาลกันบ่อย ๆ ตั้งแต่มีนโยบายนี้มา เคยทำผลสำรวจอย่างจริงจังไหมว่ามีวัยรุ่นกลุ่มเป้าหมายกี่คนที่กล้าเดินเข้าไปหยิบถุงยางอนามัยตามจุดแจก”
เปรมอธิบายว่าวัยรุ่นส่วนใหญ่ซื้อถุงยางอนามัยตามร้านสะดวก และแต่ละคนก็มีผลิตภัณฑ์ที่ชอบแตกต่างกัน ดังนั้นหากภาครัฐสามารถควบคุมราคาถุงยางอนามัยที่ขายตามร้านสะดวกซื้อให้จับต้องได้ น่าจะเป็นวิธีแก้ปัญหาที่ตอบโจทย์และมีประสิทธิภาพมากกว่า
“การเรียนคณะนิติศาสตร์ ทำให้ผมเข้าใจว่ากฎหมายจะเปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ ผ่านสามปัจจัย คือยุคสมัย สภาพสังคม และผู้ออกกฎหมาย อธิบายง่าย ๆ คือเมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป รูปแบบสังคมก็เปลี่ยนแปลง หากกฎหมายยังอยู่กับที่มันก็จะตกยุคล้าสมัยไป เช่น กฎหมายอาญาความผิดเกี่ยวกับเพศในสมัยก่อน มีมาตราที่ว่าด้วยประเด็นการถูกข่มขื่นว่า ‘ผู้ใดข่มขืนกระทำชำเราหญิงซึ่งมิใช่ภรรยาของตนถือว่ามีความผิดฐานข่มขืน’ เท่ากับว่าสามีข่มขืนภรรยาตัวเองได้อย่างนั้นหรือ
“อย่างไรก็ตาม ทุกวันนี้ความเข้มข้นของสังคมชายเป็นใหญ่เจือจางลงไปมากแล้ว ผู้ออกกฎหมายจึงต้องปรับเปลี่ยนกฎหมายให้เท่าทันบริบทและค่านิยมของสังคม โดยเปลี่ยนมาตราดังกล่าวเป็น ‘ผู้ใดข่มขืนกระทำชำเราผู้อื่นถือว่ามีความผิด’ เพราะปัจจุบันคือยุคสมัยแห่งความเท่าเทียม ดังนั้น ไม่ว่าคุณจะเป็นเพศไหน ก็ไม่มีสิทธิไปข่มขืนบุคคลใดทั้งนั้น”
ในเดือนกุมภาพันธ์นี้จะเป็นเดือนสุดท้ายก่อนที่เปรมจะพ้นวาระจากการเป็นสมาชิก YPAB ซึ่งตลอดปีที่ผ่านมาเขาได้เห็นความสำคัญของการทำงานบนพื้นฐานของความเข้าใจกันระหว่างคนหลายเจเนอเรชั่น “เพราะเราถูกสอนกันมาว่าต้องเชื่อฟังผู้ใหญ่เท่านั้น เมื่อสังคมกำลังปรับไปในทิศทางที่คนทุกวัยต้องหันหน้ามาคุยกัน การที่ผู้ใหญ่ต้องมารับฟังเสียงของเด็ก ก็อาจทำให้เป็นเรื่องที่ขัดใจผู้ใหญ่บางคน” เปรมพูดยิ้ม ๆ พร้อมกล่าวทิ้งท้ายว่า
“ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเพศ เรื่องช่วงวัย กฎหมาย หรือการร่วมมือกันระหว่างเยาวชนและผู้ใหญ่ ผมมองว่าทั้งหมดเชื่อมโยงกันในแง่ของการปรับเปลี่ยนให้เป็นไปตามยุคสมัย บริบทของสังคมและผู้คน เพื่อพัฒนาสังคมให้มีความยั่งยืนมากขึ้น ผมดีใจที่ทุกวันนี้หลายหน่วยงานในประเทศไทยให้ความสำคัญกับการรับฟังเสียงของเยาวชนรุ่นใหม่ที่มีพลัง รวมถึงการเข้าถึงสวัสดิการทางสังคมต่าง ๆ มากขึ้น โดยเฉพาะการเริ่มยอมรับและพยายามที่จะเลิกการตีตราหรือการเลือกปฏิบัติต่อกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งในสังคมของเรา”
เรื่อง มิ่งขวัญ รัตนคช, เรียบเรียง รวีกานต์ อมรัชกุล, ภาพ นิรุตติ จารุไพศาลกิจ
Tags: #SDGsYouthPanel #GlobalGoals #Youth2030
1 of 5

เรื่อง
27 มกราคม 2023
ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร ให้การต้อนรับผู้ประสานงานสหประชาชาติประจำประเทศไทย และคณะ
ชมภาพข่าวเพิ่มที่นี่
วันพฤหัสบดีที่ 26 มกราคม 2566 เวลา 09.00 นาฬิกา ณ ห้องประชุมสำนักงานประธานสภาผู้แทนราษฎร ชั้น 10 อาคารรัฐสภา นายชวน หลีกภัย ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร ให้การต้อนรับ Ms. Gita Sabharwal ผู้ประสานงานสหประชาชาติประจำประเทศไทย และคณะ ในโอกาสเดินทางมาเข้าร่วมประชุมกับคณะ กมธ.การเงิน การคลัง สถาบันการเงินและตลาดการเงิน เพื่อพิจารณาประเด็น การทำงานของสหประชาชาติเกี่ยวกับภาษีคาร์บอน และตลาดคาร์บอนเครดิต ณ ห้องประชุม CB 406 อาคารรัฐสภา โดยได้ขออนุญาตเข้าเยี่ยมคารวะ นายชวน หลีกภัย ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร อย่างไม่เป็นทางการก่อนที่คณะจะไปเข้าร่วมการประชุมกับคณะกรรมาธิการ
นายชวน หลีกภัย ได้กล่าวต้อนรับคณะสู่รัฐสภาไทย และขอบคุณที่คณะฯ ได้มาเข้าร่วมประชุมกับคระ กมธ. เพื่อให้ข้อมูลต่างๆที่จะเป็นประโยชน์ โดยเฉพาะประเด็นปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภาวะโลกร้อนที่ส่งผลกระทบกับการดำรงชีวิตของประชาชนทั่วโลกเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ โดยส่วนตัวนายชวน หลีกภัย ได้ให้ความสำคัญเรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสนับสนุนการปลูกต้นไม้ยืนต้นมาเป็นเวลานานหลายสิบปี ขณะนี้ต้นไม้ใหญ่ที่ปลูกไว้ในที่ต่างๆได้เจริญเติบโตให้ร่มเงาร่มรื่น อย่างเช่นที่จังหวัดตรังมีต้นไม้ใหญ่เป็นจำนวนมาก ช่วยผลิตอากาศบริสุทธิ์ เคยมีหน่วยงานได้ทำการตรวจวัดคุณภาพอากาศมีรายงานว่า จังหวัดตรังเป็นจังหวัดที่มีคุณภาพอากาศดีในลำดับต้นๆ ของประเทศ สำหรับหัวข้อที่คณะฯ จะได้เข้าร่วมประชุมกับกรรมาธิการการเงิน การคลังฯ สภาผู้แทนราษฎรในวันนี้เกี่ยวกับภาษีคาร์บอน และ ตลาดคาร์บอนเครดิต ซึ่งเกี่ยวกับการปลูกต้นไม้ มีความน่าสนใจและเป็นประโยชน์มาก แต่ด้วยเวลาจำกัด และในช่วงเช้าวันนี้นายชวน หลีกภัย มีภารกิจในการทำหน้าที่เป็นประธานการประชุมในห้องกระทู้ถามแยกเฉพาะ และการประชุมสภาผู้แทนราษฎร จึงไม่มีโอกาสสนทนาแลกเปลี่ยนกับคณะได้ในช่วงเวลานี้ โดยจะได้ติดตามข้อมูลจากรายงานการประชุมของคณะกรรมาธิการการเงินการคลัง สถาบันการเงิน และตลาดเงิน ซึ่งมี ดร.พิสิษฐ์ ลี้อาธรรม รองประธานคณะกรรมาธิการฯ ซึ่งมาเป็นตัวแทนคณะกรรมาธิการฯ ร่วมต้อนรับคณะผู้ประสานงานสหประชาชาติประจำประเทศไทยในโอกาสนี้ด้วย ขอให้คณะฯประสบความสำเร็จในการร่วมประชุมกับคณะกรรมาธิการฯ ในวันนี้
การหารือของทั้งสองฝ่ายเป็นส่วนหนึ่งของภารกิจร่วมกันของหน่วยงานสหประชาชาติเพื่อแลกเปลี่ยนมุมมองที่จะเป็นประโยชน์ต่อการทำงานร่วมกันในประเทศไทย โดยมีคณะผู้แทนจากทีมงานสหประชาชาติในประเทศไทยที่เข้าร่วม ได้แก่ นายสุธีร์ ชาร์มา (Mr. Sudhir Sharma) และ นางซิลเวีย เกียดา (Ms. Silvia Giada) ผู้แทนจากโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme : UNEP), นายเยนส์ หราดชินสกี้ (Mr. Jens Radschinski) หัวหน้าศูนย์ความร่วมมือระดับภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกของกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติในกรุงเทพมหานคร (UNFCCC RCC Bangkok), ดร.พิริยะ อุไรวงศ์ (Dr Piriya Uraiwong) ผู้แทนโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ United Nations Development Programme : UNDP), นางศุกร์ศิริ แจ่มสุข (Ms. Sooksiri Chamsuk) รองผู้แทนประจำภูมิภาค องค์การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติ United Nations Industrial Development Organization : UNIDO), นางริกะ โยโรสุ (Ms. Rika Yorozu) หัวหน้าสำนักงานบริหาร องค์การเพื่อการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ - ยูเนสโก กรุงเทพ ฯ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization : UNESCO), และ ดร.ธมน เล็กปรีชากุล (Dr Thamana Lekprichakul) ผู้แทนสำนักงานผู้ประสานงานสหประชาชาติในประเทศไทย (United Nations Resident Coordinator Office in Thailand : UN RCO Thailand)
อ่านต้นฉบับบนเว็บไซต์รัฐสภา
ชมภาพข่าวเพิ่มที่ลิ้งค์ในภาพ
1 of 5
เรื่อง
17 มกราคม 2023
ฑิตยา บุณยรัตพันธุ์ นักเรียนแพทย์ผู้สร้างสรรค์สุขภาวะทางเพศด้วยการสร้างค่านิยมใหม่
SDGs Youth Panel
เมื่อพูดถึงความรุนแรงทางเพศ หลายคนอาจรู้สึกว่ามันช่างไกลตัว... แต่ที่จริงปัญหานี้เป็นภัยเงียบที่อยู่ใกล้ตัวเรามากกว่าที่คิด การทำร้ายผู้อื่นไม่ได้มีแค่ทางร่างกาย เพราะการด่าทอ ทำร้ายจิตใจกันด้วยคำพูดทั้งต่อหน้าและบนโลกออนไลน์ ล้วนสร้างบาดแผลให้ผู้ถูกกระทำเหมือนกัน
ความรุนแรงทางเพศเป็นเพียงปัญหาหนึ่ง ในอีกหลายประเด็นทางเพศที่คนจำนวนไม่น้อยรู้สึกอาย หรือหวาดกลัวเกินกว่าที่จะพูดถึง ด้วยค่านิยมเดิม ๆ ที่ทำให้เรื่องเพศเป็นเรื่องต้องห้าม และคนที่ส่งเสียงถึงเรื่องนี้มักถูกตีตราตัดสินจากคนรอบข้าง
ปัน-ฑิตยา บุณยรัตพันธุ์ คือนักเรียนแพทย์ชาวไทยที่เคยเป็นผู้ช่วยระดับภูมิภาคของ SCORA Asia Pacific ซึ่งเป็นการรวมตัวกันของนักศึกษาแพทย์ผู้สนใจประเด็นทางเพศและมุ่งมั่นที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้น โดย SCORA เป็นหน่วยย่อยของ IFMSA (International Federation of Medical Students' Associations) องค์กรนักศึกษาแพทย์ที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุด และมีส่วนผลักดันการแก้ปัญหาสาธรณสุขในโครงการต่าง ๆ จากพลังเยาวชนทั่วโลก
การเป็นนักศึกษาแพทย์ ทำให้ปันได้เรียนรู้ว่าปัญหาสุขภาพของผู้คนไม่ได้มีสาเหตุมาจากร่างกายอย่างเดียว แต่ปัจจัยทางสังคมก็มีส่วนสำคัญเช่นกัน โดยเฉพาะประเด็นสุขภาพทางเพศ ที่พ่วงมากับมิติทางสังคมเสมอ เช่น การตีตราบาปในเรื่องของการให้บริการทางเพศ เมื่อพูดถึง คนจำนวนมากในสังคมจะมีความรู้สึกลบเป็นอัตโนมัติต่อผู้ให้บริการทางเพศไปแล้ว ทั้งหมดนี้ส่งผลให้ปัญหายังค้างคาอยู่โดยไม่มีใครพูดถึงและพยายามแก้ไข
นอกจากทำงานกับเครือข่ายเยาวชนทั้งในประเทศและระดับภูมิภาค ทุกวันนี้ปันทำงานกับหลากหลายองค์กรที่นำโดยผู้ใหญ่เพื่อขับเคลื่อนประเด็นทางเพศ เธอร่วมทำวิจัยกับมูลนิธิช่วยเหลือเด็ก ในประเด็นการดูแลสุขภาพของคนข้ามเพศ รวมถึงสุขภาพใจของเยาวชนที่มีความหลากหลายทางเพศ นอกจากนี้เธอยังเป็นหนึ่งในทีมเยาวชนที่ปรึกษาของสหประชาชาติประเทศไทย (Youth Panel for Sustainable Development Goals : SDGs Youth Panel) เพื่อส่งเสียงไปถึงผู้ใหญ่ในสังคมที่มีอำนาจตัดสินใจและเป็นผู้สร้างนโยบายพัฒนาประเทศ
โดยในเดือนมีนาคมนี้ ปันจะเดินทางไปเข้าร่วมการประชุมคณะกรรมาธิการว่าด้วยสภาพสตรี (Commission on the Statues of Women) สมัยที่ 67 ที่นครนิวยอร์ก การประชุมนี้เป็นความร่วมมือระหว่างประเทศเกี่ยวกับการส่งเสริมความความเสมอภาค ในฐานะตัวแทน IFMSA นักศึกษาแพทย์ชาวไทย
นักศึกษาแพทย์วันนี้ คือกำลังสำคัญของการระบบสาธารณสุขในอนาคต และการรักษาอาการป่วยไข้แล้วจบไป ไม่อาจแก้ปัญหาสุขภาพทางเพศได้อย่างยั่งยืน ปันได้ชวนพูดคุยถึงความซับซ้อนและการผลักดันประเด็นทางเพศ ที่เป็นหนึ่งในหัวใจของการสร้างสุขภาพที่ดีให้ผู้คน ตลอดจนพัฒนาระบบสุขภาพที่แข็งแรง
รักษาในทุกด้านความเป็นมนุษย์
เพราะเป็นวัยรุ่นที่สนใจอะไรหลายอย่าง ทั้งชอบวิทยาศาสตร์และรักในงานสร้างสรรค์ ชีวิตวัยมัธยมของปันจึงผ่านการทำกิจกรรมมาหลายรูปแบบ ตั้งแต่วาดรูป เขียนเรื่องสั้น ทำธุรกิจจำลอง ไปจนถึงสร้างงานประดิษฐ์วิศวกรรมการแพทย์ แม้ว่าปันจะมีความสนใจหลากหลาย แต่สุดท้ายแล้วเธอก็เลือกเรียนต่อคณะแพทย์ศาสตร์ เพราะวิชาชีพนี้ ทำให้เธอได้ใช้ศักยภาพและความสนใจทั้งหมดร่วมกันได้อย่างดี
“เราไม่ได้เรียนแค่วิธีรักษาคนไข้อย่างเดียว แต่ยังได้เรียนรู้การปฏิสัมพันธ์กับคนไข้ในมิติต่าง ๆ ด้วย อย่างการรักษาแบบองค์รวม (Holistic Care) ซึ่งแพทย์ต้องเยียวยาคนไข้ผ่านมุมมองในทุกด้านความเป็นมนุษย์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ไม่ได้พิจารณาเฉพาะโรคที่เป็นหรือแค่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย”
“ตั้งแต่ปีหนึ่ง เราได้ลงพื้นที่จริงสำรวจงานด้านสาธารณสุข และประสบการณ์เหล่านั้นก็ทำเข้าใจมากขึ้นว่าการป่วยไข้ของผู้คนมีสาเหตุมาจากปัจจัยทางสังคมไม่มากก็น้อย ปัญหาสุขภาพบางอย่างเป็นปัญหาเชิงโครงสร้าง ที่แก้แค่ตัวคนไข้ไม่ได้ แต่ต้องมองในภาพรวมถึงระดับสังคม”
อย่างที่สถานสงเคราะห์เด็กชุมชนคลองเตย ซึ่งปันและเพื่อนนักศึกษาแพทย์เคยไปลงพื้นที่ เยาวชนบางคนไม่ได้เรียนหนังสือ บางคนมาจากครอบครัวที่ใช้ความรุนแรง ซึ่งปัญหาทางสังคมเหล่านี้นำไปสู่ปัญหาด้านสาธารณสุข ไม่ว่าจะเป็นการท้องไม่พร้อม หรือการติดโรคทางเพศสัมพันธ์
ปันเล่าอย่างกระตือรือร้นว่าชีวิตมหาวิทยาลัยเป็นเหมือนโรลเลอร์โคสเตอร์ ที่แม้จะเหนื่อยแต่ก็คุ้มค่า เพราะมีบทเรียนมากมายให้เก็บเกี่ยวทั้งในและนอกห้องเรียน เธอจึงไม่ลังเลที่จะทำกิจกรรมอย่างเต็มที โดยเฉพาะกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เธอได้ทำความเข้าใจประเด็นสุขภาพในมิติทางสังคมมากขึ้น
เรื่องเพศที่ซับซ้อนและอ่อนไหว
สมาพันธ์นิสิตนักศึกษาแพทย์นานาชาติ หรือ IFMSA (International Federation of Medical Students' Associations) คือแหล่งรวมตัวอนาคตคุณหมอที่สนใจการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสังคม โดยมีเครือข่ายมากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก นับเป็นองค์กรของนักศึกษาแพทย์ที่ใหญ่และเก่าแก่ที่สุดในโลก อย่างในไทย IFMSA Thailand ก็มีสมาชิกนักศึกษาแพทย์จาก 19 สถาบันทั่วประเทศ และแน่นอนปันก็เป็นหนึ่งในนั้น
“IFMSA แบ่งการทำงานออกเป็นหลายส่วน แต่ละประเทศจะผลักดันโครงการต่าง ๆ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ประเด็นสาธารณสุข สิทธิมนุษยชน จนถึงสุขภาพทางเพศ ขึ้นอยู่กับความสนใจของนักศึกษาแพทย์แต่ละคน และแม้จะเป็นองค์กรเยาวชน แต่ทุกประเทศก็มีการตั้งเป้าหมายและติดตามความคืบหน้า ทำให้เราได้ศึกษาปัญหาแต่ละประเด็นอย่างจริงจัง”
ปันเล่าว่าเธอสนใจมิติทางสังคมและความเป็นมนุษย์ การลงพื้นที่หลายต่อหลายครั้งทำให้เธอได้เห็นความซับซ้อนของปัญหาสุขภาพทางเพศ อย่างการตีตราบาป (Stigma) ที่พ่วงมากับประเด็นทางเพศเสมอ ลองคิดตามง่าย ๆ เมื่อพูดถึงการให้บริการทางเพศ หรือการทำแท้ง คนจำนวนไม่น้อยในสังคมยังมีความรู้สึกทางลบ และตีตราผู้ให้บริการทางเพศหรือคนทำแท้งอยู่ดี
เธอจึงย้ายมาทำงานให้หน่วยย่อยของ IFMSA ที่ผลักดันเรื่องสุขภาพและสิทธิทางเพศ อนามัยการเจริญพันธุ์ เอชไอวีและเอดส์ อย่าง SCORA (Standing Committee on Sexual & Reproductive Health and Rights Including HIV & AIDS) ซึ่งขอบข่ายการทำงานของหน่วยย่อยนี้ครอบคลุมไปถึงการสนับสนุนความเท่าเทียมทางเพศ การส่งเสริมอนามัยแม่และเด็ก ตลอดจนการยุติความรุนแรงทางเพศด้วยเช่นกัน
นอกจากปันแล้ว ผู้นำเยาวชนในเครือข่าย SDG Youth Panel อีกคนอย่าง เมจิ-ณัฐณิชา มานะบริบูรณ์ ก็เป็นส่วนหนึ่งขององค์กรนักศึกษาแพทย์แห่งนี้เช่นกัน โดยเนื้องานที่เมจิกำลังผลักดันมุ่งเน้นไปที่การกำหนดนโยบายสาธารณสุขของประเทศไทยในภาพกว้าง ต่างจากปันที่สนใจลงลึกมาที่เรื่องสุขภาพทางเพศ
วิชาชีพที่เป็นมากกว่าแค่อาชีพ
ภัยใกล้ตัวที่หลายคนมองข้าม คือปัญหาความรุนแรงในครอบครัว (Domestic Violence) ที่มีความรุนแรงหลายระดับ ตั้งแต่การด่าว่า ทำร้ายร่างกาย ไปจนถึงการล่วงละเมิดทางเพศ ซึ่งเหยื่อส่วนใหญ่มักปิดปากเงียบไม่กล้าไปแจ้งความ หรือแม้แต่จะเล่าให้ใครฟัง
“SCORA Thailand จึงจัดเสวนาออนไลน์ขึ้น เพื่อสร้างความตระหนักถึงประเด็นนี้แก่นักศึกษาแทพย์ โดยหนึ่งในวิทยากรคือพี่เบส-บุษยาภา ศรีสมพงษ์ นักกฎหมายที่ก่อตั้ง SHero พื้นที่ให้คำปรึกษาและความช่วยเหลือทางกฎหมายกับเหยื่อความรุนแรงในครอบครัว งานเสวนาไม่เพียงแค่มอบแรงบันดาลใจ แต่เรายังได้เห็นตัวอย่างนักขับเคลื่อนสังคมที่ใช้วิชาชีพของตัวเองสร้างความเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้น
“หนึ่งในเคสที่พี่เบสเคยเจอ คือผู้หญิงพม่าที่ย้ายมาอยู่ไทยและโดนสามีต่อยจนฟันหัก แต่ตำรวจที่รับเรื่องกลับหัวเราะที่เธอฟันหลอ กลายเป็นว่าเหยื่อความรุนแรงถูกล้อเลียน แทนที่จะได้รับการช่วยเหลือ ยังไม่นับพฤติกรรมโทษเหยื่อ (Victim Blaming) ของคนในสังคม ที่มักปรักปรำว่าเรื่องเลวร้ายนั้นต้นเหตุมาจากผู้ถูกกระทำเอง ผู้เสียหายจำนวนมากจึงไม่สามารถออกจากวงจรความรุนแรงไปได้”
อย่างไรก็ตาม แม้เหยื่อบางคนจะหลุดพ้นวังวนความรุนแรงมาได้แล้ว แต่การที่พวกเขายังต้องเล่าความบอบช้ำของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นซ้ำ ๆ ตลอดกระบวนการยุติธรรม คือสิ่งที่จะสร้างบาดแผลทางใจ (Trauma) ระยะยาว ที่อาจต้องใช้เวลานับปีหรือชั่วชีวิตในการเยียวยา “ประเด็นทางเพศเป็นเรื่องที่กระทบใจเรา เพราะมันไม่ใช่แค่สุขภาพทางร่างกาย แต่มีอารมณ์และความเป็นมนุษย์ซ่อนอยู่เสมอ”
ปันเล่าว่าหลังงานเสวนาเรื่องความรุนแรงในครอบครัว SCORA จัดเสวนาออนไลน์อีกหลายครั้ง หนึ่งในนั้นเป็นประเด็นเกี่ยวกับพนักงานบริการทางเพศ ซึ่งหลังจากสถานการณ์โควิดดีขึ้น SCORA ก็ได้พาน้อง ๆ นักศึกษาแพทย์ไปลงพื้นที่ย่านพัฒน์พงศ์ด้วย เมื่อได้ไปสัมผัสชีวิต ได้พูดคุยกับพี่ ๆ พนักงานบริการ เราก็ได้เห็นความเสี่ยงและความยากลำบากในการทำงานของเขา
“ทั้งหมดนี้เพื่อย้อนกลับมาที่คำถามว่า เราสามารถใช้วิชาชีพของเราในฐานะแพทย์ สร้างความเปลี่ยนแปลงให้สังคมดีขึ้นได้ยังไงบ้าง โดยเฉพาะประเด็นทางเพศที่ซับซ้อนและอ่อนไหวกว่าที่หลายคนคิด”
สุขภาพคนรุ่นใหม่ที่ต้องถูกดูแล
ความเจ๋งของ IFMSA คือการมีสมาชิกเป็นนักศึกษาแพทย์จากทั่วโลก โดยทุกคนมีจุดร่วมเดียวกัน นั่นคือแพชชั่นในการแก้ไขปัญหาสังคม “ตอนปีสาม เราได้ไปช่วยจัดงานประชุมระดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก การได้ไปพูดคุยกับเพื่อน ๆ ประเทศอื่น มันยิ่งสร้างพลังให้เราอยากกลับมาสร้างความเปลี่ยนแปลงให้ประเทศตัวเอง เพราะเมื่อระบบสุขภาพระดับท้องถิ่นแข็งแรง มันก็จะสร้างความแข็งแกร่งให้สุขภาพระดับภูมิภาคและระดับโลกไปด้วย”
ปันจึงสมัครเข้าเป็นผู้ช่วยระดับภูมิภาคของ SCORA Asia Pacific ตลอดทั้งปีเธอจึงได้ทำหน้าที่ดูแลและติดตามการขับเคลื่อนโครงการต่างๆ ของ SCORA กว่า 20 ประเทศในเอเชียแปซิฟิกรวมถึงไทยด้วย โดยวาระการทำงานของปันเพิ่งจบไปเมื่อปลายปีที่ผ่านมา
“หลักการของเราคือ Think Globally, Act Locally และมันเป็นอย่างนั้นจริง ๆ การได้ทำงานในสเกลที่ใหญ่ขึ้นกับนักศึกษาแพทย์หลากหลายเชื้อชาติ ทำให้เราเรียนรู้ว่าแม้จะเป็นปัญหาสุขภาพเดียวกัน แต่ทุกประเทศก็มีบริบทที่ห่อหุ้มปัญหานั้นๆ ไม่เหมือนกัน ซึ่งนำไปสู่การแก้ไขในรูปแบบที่แตกต่างกันไปด้วย”
การทำงานในระดับสากล ทำให้ปันได้พบเพื่อนเครือข่ายอื่นอีกมากมายนอกจากกลุ่มนักศึกษาแพทย์ อย่าง Youth Voices Count เครือข่ายเยาวชนที่สนับสนุนอัตลักษณ์และการแสดงออกทางเพศที่หลากหลาย ซึ่งเธอได้ไปแจมในแคมเปญ QueerXBodies ซีรีย์สัมภาษณ์นักเคลื่อนไหวเยาวชนจากหลายประเทศในเอเชียแปซิฟิก ที่กำลังผลักดันประเด็นทางเพศในมิติ LGBTQIA+
“เราได้ไปทำวิจัยเรื่องการดูแลสุขภาพของคนข้ามเพศ ร่วมกับให้มูลนิธิช่วยเหลือเด็ก (Save the Children) ซึ่ง เกี่ยวเนื่องมาถึงเรื่องสุขภาพใจของเยาวชนที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย แม้เราจะกันพูดว่าทุกวันนี้สังคมเปิดกว้างต่อความหลากหลายแล้ว แต่เยาวชน LGTQIA+ จำนวนมากมีอาการซึมเศร้าและวิตกกังวล จากการที่ไม่สามารถแสดงออกถึงตัวตนได้อย่างเต็มที่ บางคนถูกบังคับให้เปลี่ยนตัวตนทางเพศ รวมถึงถูกกระทำความรุนแรงจากคนใกล้ตัวและคนแปลกหน้าในสังคม”
การมีส่วนร่วมของเยาวชนที่มีความหมาย
“เพศศึกษาในโรงเรียนเป็นพื้นฐานสำคัญของสุขภาวะทางเพศ เราเคยไปทำงานอาสาสมัครที่สถานสงเคราะห์เด็กกำพร้า ซึ่งสอนเรื่องนี้ให้น้อง ๆ ตั้งแต่ชั้นอนุบาล ส่วนไหนในร่างกายที่เราไปแตะต้องคนอื่นไม่ได้ และคนอื่นก็ไม่ควรมาแตะของเรา อาจฟังเหมือนเรื่องเล็กน้อย แต่จริง ๆ แล้วเป็นพื้นฐานที่ทำให้เยาวชนหนักแน่นในสิทธิเหนือเรือนร่างและการตัดสินใจของตัวเอง ซึ่งถือเป็นสิทธิมนุษยชน หรือความตระหนักเรื่อง LGBTQIA+ ว่าเพศสภาพในโลกใบนี้นั้นมีหลากหลาย ก็ควรปลูกฝังกันตั้งแต่ในโรงเรียนเหมือนกันกัน”
ในอุดมคติ ทุกคนมีสิทธิใช้ชีวิตบนทางที่เลือกอย่างภาคภูมิใจ แต่ในความเป็นจริง สภาพแวดล้อมทางสังคมยังกดทับเด็กและเยาวชนทั่วโลกให้ต้องเดินบนค่านิยมดั้งเดิมของสังคม นำมาสู่ปัญหาต่างๆ อย่างที่คุยกับปันไปทั้งหมด
ในฐานะเยาวชน ปันมองว่าเธอต้องส่งเสียงถึงเรื่องนี้อย่างเต็มที่ เธอจึงเข้าร่วมเป็นคณะที่ปรึกษาเยาวชนให้องค์กรที่นำโดยผู้ใหญ่หลายแห่ง รวมถึงเข้าร่วมเครือข่ายผู้นำเยาวชน SDGs Youth Panel โดยองค์การสหประชาชาติ ประเทศไทย เพื่อแสดงความคิดเห็น ให้เสียงจากเยาวชนไปถึงผู้มีอำนาจตัดสินใจและสร้างนโยบายอย่างจริงจัง
“ช่วงปีที่ผ่านมา เรามีโอกาสได้บอกเล่าจากมุมมองของเยาวชนที่ทำงานเรื่องนี้ในหลายเวที แต่ครั้งที่ตื่นเต้นที่สุด คืองานวันสตรีสากลโดย UNAIDS Asia Pacific หน่วยงานที่ขับเคลื่อนการยุติการติดเชื้อเอชไอวี การเลือกปฏิบัติ และการเสียชีวิตจากโรคเอดส์ เป็นงานที่จุดประกายสุด ๆ เพราะได้พบพี่ ๆ หลายคนจากหลายประเทศที่ทำงานผลักดันเรื่องนี้มายาวนาน
ปันมองว่า หัวใจของการสร้างความเปลี่ยนแปลงคือการมีส่วนร่วมของเยาวชนที่มีความหมาย (Meaningful Youth Engagement) อย่างนักศึกษาแพทย์ที่ในอนาคตจะกลายเป็นกำลังสำคัญของระบบสาธารณสุข การมีส่วนร่วมของพวกเขาในวันนี้ จะนำไปสู่การสร้างระบบสุขภาพที่ดีและสังคมที่ยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ความยั่งยืนในทุกมิติล้วนเชื่อมโยงถึงกัน เมื่อระบบสาธารณสุขแข็งแกร่งและยั่งยืน มันย่อมเชื่อมต่อให้ประเด็นทางสังคมอื่น ๆ พัฒนาไปสู่ความยั่งยืนได้ด้วยเช่นกัน
เรื่อง มิ่งขวัญ รัตนคช, เรียบเรียง รวีกานต์ อมรัชกุล, ภาพ นิรุตติ จารุไพศาลกิจ
Tags: #SDGsYouthPanel #GlobalGoals #Youth2030
1 of 5

ข่าวประชาสัมพันธ์
01 มีนาคม 2023
อียู-สหประชาชาติ ผสานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และการส่งเสริมสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
ฯพณฯ นายเดวิด เดลี (David Daly) เอกอัครราชทูตสหภาพยุโรปประจำประเทศไทย กล่าวว่าว่า “สหภาพยุโรปเป็นพันธมิตรที่อยู่เคียงข้างประเทศไทยมาอย่างยาวนานในการส่งเสริมและมีความร่วมมือในประเด็นที่มีความสนใจร่วมกัน ซึ่งรวมถึงการพัฒนาที่ยั่งยืน สิทธิมนุษยชน และประเด็นเกี่ยวกับผู้ถูกบังคับให้ย้ายถิ่น สหภาพยุโรปร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ของสหประชาชาติเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนวาระการพัฒนา 2030 ในประเทศไทย ขณะนี้เราเหลือเวลาอีกเพียง 7 ปีก่อนจะถึงกำหนดในปี ค.ศ. 2030 ดังนั้นจึงเป็นเรื่องสำคัญมากที่ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดจะต้องร่วมมือกันเพื่อเร่งดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนแต่ละข้อในทุกภูมิภาคทั่วโลก”
กีต้า ซับบระวาล (Gita Sabharwal) ผู้ประสานงานสหประชาชาติประจำประเทศไทย กล่าวถึงโอกาสที่จะเกิดขึ้นจากความร่วมมือครั้งนี้ว่า “ความร่วมมือระหว่างสหภาพยุโรปและสหประชาชาติครั้งใหม่นี้จะวางรากฐานเพื่อความร่วมมือที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนผ่านการทำงานตามกรอบความร่วมมือในประเทศไทย โครงการเหล่านี้จะนำมาซึ่งโอกาสมหาศาลและยังก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้คนหลายล้านคน ช่วยให้การคุ้มครองผู้หนีภัยการสู้รบจากเมียนมา การส่งเสริมพันธกรณีด้านสิทธิมนุษยชน และการเพิ่มการมีส่วนร่วมในการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของคนในท้องถิ่นมีความเป็นรูปธรรมมากขึ้น บนพื้นฐานของความโปร่งใสและการเปิดกว้าง อีกทั้งเพื่อให้มั่นใจว่าไม่มีใครถูกทิ้งไว้ข้างหลัง”
โครงการที่สหภาพยุโรปให้การสนับสนุนทั้งสามโครงการนี้จะช่วยส่งเสริมผลลัพธ์ลำดับที่สามตามกรอบความร่วมมือว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ (United Nations Sustainable Development Cooperation Framework - UNSDCF) กรอบความร่วมมือนี้กำหนดแนวทางการทำงานของสหประชาชาติ ซึ่งมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 ของประเทศไทย อีกทั้งมีความเหมาะแก่กาลเป็นอย่างยิ่งเนื่องจากประเทศไทยกำลังฟื้นตัวจากการระบาดใหญ่ของโควิด-19 โดยกรอบความร่วมมือจะส่งเสริมการเปลี่ยนผ่านสู่ระบบดิจิทัล ความยั่งยืน สิทธิมนุษยชน และความสามารถในการฟื้นตัวจากวิกฤต ควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อม
รายละเอียดของโครงการมีดังต่อไปนี้ สหภาพยุโรปจะร่วมให้ทุนแก่โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) เพื่อสนับสนุนโครงการ ‘Strengthening SDGs Localization in Thailand’ (ส่งเสริมการประยุกต์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทย) ด้วยเงินทุนราว 1 ล้านยูโรเป็นระยะเวลา 18 เดือน เพื่อทำงานกับ 15 จังหวัดเป้าหมายในการปรับปรุงการสื่อสารนโยบายเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน การประยุกต์เป้าหมายโดยคำนึงถึงเพศสภาพโดยเน้นการเพิ่มปริมาณข้อมูลพร้อมใช้งาน สร้างความตระหนัก และพัฒนาขีดความสามารถว่าด้วยเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
อีกหนึ่งโครงการเป็นการสนับสนุนเงินทุนมูลค่า 1.5 ล้านยูโร ร่วมทุนกับสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) ในโครงการ 'Support on Child Protection and Durable Solutions to Refugees in Nine Camps border Thai-Myanmar Border' (สนับสนุนการคุ้มครองเด็กและแนวทางแก้ปัญหาผู้หนีภัยการสู้รบจากเมียนมาอย่างยั่งยืนในศูนย์พักพิงชั่วคราวตามแนวชายแดนไทย-เมียนมา) เพื่อพัฒนาความคุ้มครองและสิทธิของเด็กในศูนย์พักพิงชั่วคราว และส่งเสริมการปฏิรูปกฎหมายให้ผู้หนีภัยการสู้รบสามารถเข้าถึงโอกาสในการประกอบอาชีพและการศึกษาในโรงเรียน
ขณะที่สำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (OHCHR) ประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะได้รับทุนจำนวน 1 ล้านยูโรเพื่อดำเนินโครงการ ‘Strengthen the Promotion and Protection of Human Rights in Thailand’ (เสริมสร้างการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย) โดยมุ่งสร้างความก้าวหน้าในประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยด้วยการสนับสนุนความพยายามในระดับประเทศในการเพิ่มความเข้มแข็งของกฎหมาย นโยบาย และแนวปฏิบัติให้สอดคล้องกับบรรทัดฐานและมาตรฐานสิทธิมนุษยชนสากล ขั้นตอนที่สำคัญประกอบด้วยการส่งเสริมให้นักปกป้องสิทธิมนุษยชนและองค์กรภาคประชาสังคมมีส่วนร่วมกับกลไกสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ พร้อมมุ่งให้มีการสนองตอบต่อข้อกังวลด้านสิทธิมนุษยชนมากขึ้น
สอบถามเพิ่มเติม โปรดติดต่อ
สุขุมา อุทรักษ์
โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP)
sukuma.uttarak[@]undp.org
มอร์กัน รุสเซล-เอเมอรี
สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR)
rousselh[@]unhcr.org
วรรณภร สมุทรอัษฎงค์
สำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (OHCHR)
wannaporn.samutassadong[@]un.org
บวรพงษ์ วัฒนาธนากุล
สำนักงานผู้ประสานงานสหประชาชาติประจำประเทศไทย (UNRCO)
bovornpong.vathanathanakul[@]un.org
ธนภรณ์ สาลีผล
สำนักงานคณะผู้แทนสหภาพยุโรปประจำประเทศไทย
thanaporn.saleephol[@]eeas.europa.eu
1 of 5
ข่าวประชาสัมพันธ์
27 กุมภาพันธ์ 2023
UN ร่วมผนึกกำลัง 'Change for Good' มท.-ทส. ส่งเสริมผ้าไทยที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ริเริ่มวัดค่าคาร์บอนด้วยมาตรฐาน UNFCCC
เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 นางกีต้า ซับบระวาล (Ms. Gita Sabharwal) ผู้ประสานงานสหประชาชาติประจำประเทศไทย พร้อมด้วยนายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย และ ดร.วันดี กุญชรยาคง จุลเจริญ นายกสมาคมแม่บ้านมหาดไทย ร่วมเป็นประธานเพื่อเป็นสักขีพยานในพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ‘โครงการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ผ้าไทย ภูมิปัญญาไทย ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม’ โดยมี นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน และ นายเกียรติชาย ไมตรีวงษ์ ผู้อำนวยการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) เป็นผู้ลงนาม
นางกีต้า ซับบระวาล (Ms. Gita Sabharwal) ผู้ประสานงานสหประชาชาติประจำประเทศไทย กล่าวว่ากิจกรรมในวันนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการริเริ่มทดสอบการวัดค่าการปล่อยก๊าซคาร์บอนในกระบวนการผลิตผ้าไทย โดยใช้มาตรฐานสากลที่กำหนดโดยกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change : UNFCCC)
“ภาคส่วนสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มคิดเป็นสัดส่วน 6 ถึง 8 เปอร์เซ็นต์ ของการปล่อยคาร์บอนทั้งหมดทั่วโลก การประเมินรอยเท้าคาร์บอนในกระบวนการผลิตสิ่งทอระดับท้องถิ่น จึงนับเป็นกุญแจสำคัญในการลดการปล่อยมลพิษอย่างครบวงจร ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการก้าวกระโดดครั้งใหญ่สู่การผลิตผ้าไทยที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ที่จะได้รับการยอมรับในระดับโลกต่อไป นอกจากนี้ในด้านสังคมและเศรษฐกิจ สตรีไทยผู้ทอผ้าเกือบ 2,000,000 คน ที่ทำงานผ่านกลุ่มทอผ้ากว่า 100,000 กลุ่มที่ผลิตผ้าและผลิตภัณฑ์อื่นๆ จะเป็นผู้ได้รับประโยชน์จากการดำเนินการนี้เช่นกัน”
นางกีต้ายังกล่าวถึงพระประสงค์อันแรงกล้าของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ที่มีต่อความยั่งยืน พระองค์ไม่เพียงทรงริเริ่มการนำสีย้อมธรรมชาติมาสู่ชาวไทย แต่ยังทรงสนับสนุนการยกระดับฝีมือแรงงานหัตถกรรม โดยการนำนักออกแบบแฟชั่นระดับชั้นนำมาทำงานร่วมกับกลุ่มสตรีทอผ้า ส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีในเชิงเศรษฐกิจและการอยู่ร่วมกันในสังคมโดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง
ด้าน นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย กล่าวว่า “วันนี้เป็นก้าวที่ยิ่งใหญ่” ของความพยายามที่จะลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนในวิถีการผลิตผ้าไทย ซึ่งนับตั้งแต่เราพยายามพัฒนาประเทศไปสู่ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ การใช้สารเคมี-สีเคมี ก็ฝังอยู่ในจิตสำนึกของวิถีชีวิตคนไทยมาอย่างยาวนาน
โดยนายสุทธิพงษ์ ได้กล่าวขอบคุณทีมงานทุกคน ท่านผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 7 ภาคีเครือข่าย รวมถึง UN ที่เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการสร้างความเปลี่ยนแปลง ช่วยกัน Change for Good ลดก๊าซเรือนกระจก เพื่อรักษาให้โลกใบนี้อยู่คู่กับลูกหลานของเราไปอีกยาวนาน โดยการการดำเนินงานนี้นับเป็นโอกาสที่ดีในการขับเคลื่อน 17 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนไปพร้อมกับนานาชาติ
ขณะที่ นายเถลิงศักดิ์ เพ็ชรสุวรรณ รองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้กล่าวว่า “การลงนามความร่วมมือในวันนี้นับเป็นอีกหมุดหมายสำคัญที่จะนำประเทศไทยไปสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน ในปี 2050 และปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ ภายในปี 2065 จากนี้ไปนอกจากผ้าไทยจะช่วยเศรษฐกิจฐานรากของประชาชน มีคุณค่าต่อชุมชนและสังคมแล้ว ยังช่วยลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมถึงเพิ่มโอกาสการแข่งขันด้านการตลาดกับประเทศต่างๆ ซึ่งจะนำมาซึ่งรายได้ของเกษตรกรที่มีความยั่งยืน”
และในช่วงท้าย นางกีต้า ได้กล่าวสรุปว่า “ทั้งนี้ สหประชาชาติและกระทรวงมหาดไทยจะได้ร่วมมือเป็น Partnership กันเพื่อสร้างประโยชน์และการมีส่วนร่วมที่สำคัญในการดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายการลดคาร์บอนในระยะยาวและเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ภายในกลางศตวรรษ ในขณะเดียวกันก็จะสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและผลตอบแทนทางสังคมให้กับผู้คนหลายล้านคนในอีกหลายปีข้างหน้า”
1 of 5
ข่าวประชาสัมพันธ์
30 พฤศจิกายน 2022
บทสรุปงาน Sustainable Thailand 2022 จากความมุ่งมั่นสู่การลงมือทำ ผู้ทรงคุณวุฒิจากภาคตลาดเงิน-ตลาดทุนไทย ร่วมอภิปรายคับคั่ง ผลักดันระบบการเงินยั่งยืน
งาน ‘Sustainable Thailand 2022’ จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมความเข้าใจ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความสำเร็จ ความท้าทาย รวมถึงบทเรียนที่หลายหน่วยงานและองค์กรได้เรียนรู้ระหว่างการดำเนินงาน ตลอดจนหาแนวทางแก้ไขที่เป็นไปได้เพื่อขยับขยายและเพิ่มขีดความสามารถของระบบการเงิน การธนาคารและการลงทุนเพื่อความยั่งยืนในประเทศ และเพื่อติดตามความคืบหน้าการดำเนินงานของธนาคารและนักลงทุนตามที่ได้ร่วมลงนามเมื่อปีก่อน ในคำแถลงความมุ่งมั่นต่อการลงทุนอย่างรับผิดชอบ การดำเนินธุรกิจตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน และข้อตกลงด้านสภาพอากาศปารีส (Paris Agreement on Climate Change) ของ 43 สถาบันการเงิน และบริษัทบริหารสินทรัพย์ตลอดจนธนาคารต่าง ๆ ภายใต้การนำของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ที่งาน Sustainable Thailand 2021
คุณกีต้า ซับบระวาล (Gita Sabharwal) ผู้ประสานงานสหประชาชาติประจำประเทศไทย กล่าวต้อนรับผู้ร่วมงานทั้งในศูนย์ประชุมฯ และช่องทางออนไลน์พร้อมมุมมองว่าช่วงปีที่ผ่านมาการลงทุนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเป็นวาระสำคัญในการหารือระหว่างสถาบันการเงิน ภาคการธนาคาร นักลงทุน และผู้บริหารสินทรัพย์ ซึ่งทุกภาคส่วนกำลังเตรียมพร้อมรองรับ โดยข้อมูลการวิเคราะห์ชี้ว่า โครงสร้างพื้นฐานสีเขียวของประเทศไทยจะต้องใช้เงินลงทุนประมาณ 3.2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้หากเกณฑ์สำหรับการให้กู้ยืมและการลงทุนสีเขียวกำหนดไว้เพียงแค่ที่ 6.3%
“โลกกำลังเผชิญกับวิกฤตการณ์ที่ยากลำบาก ภาครัฐใช้จ่ายอย่างจำกัด การจัดหาเงินทุนเพิ่มเติมผ่านตลาดการเงินในประเทศจึงจำเป็นอย่างยิ่งเพื่อเร่งการเติบโตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม”
จากนั้น คุณรื่นวดี สุวรรณมงคล เลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้กล่าวขอบคุณภาคส่วนต่าง ๆ ในตลาดเงินและตลาดทุนที่ร่วมขับเคลื่อนประเด็นด้านความยั่งยืนมาอย่างต่อเนื่อง สำหรับ ก.ล.ต. ได้ออกหลักเกณฑ์การรายงานข้อมูลประจำปีของบริษัทจดทะเบียน หรือแบบ 56-1 One Report โดยมีผลใช้บังคับเมื่อต้นปี 2565 ซึ่งให้ความสำคัญกับการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืน (ESG) รวมถึงข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการเคารพสิทธิมนุษยชน เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการวิเคราะห์และตัดสินใจลงทุนให้แก่ผู้ลงทุน
“ก.ล.ต. กำหนดให้ประเด็นด้านความยั่งยืนเป็นหนึ่งในเรือธงยุทธศาสตร์ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพัฒนาตลาดทุนฉบับที่ 4 (ปี 2566-2570) และที่สำคัญคือสอดรับกับนโยบายเศรษฐกิจใหม่ (BCG Economy) ซึ่งเชื่อมโยงกับธีมของการประชุม APEC ในปีนี้ ในส่วนของการสร้างสมดุลในการเติบโตของธุรกิจที่ไม่ได้มุ่งเฉพาะเรื่องของผลกำไร ด้วยการดำเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบและคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ก.ล.ต. ยังทำงานร่วมกับสหประชาชาติ เช่น โครงการ SDGs Investor Map Thailand หรือ แผนที่การลงทุนสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทยซึ่งเป็นแพลตฟอร์มบนเว็บไซต์ที่นำเสนอข้อมูลให้แก่ผู้ลงทุนที่สนใจลงทุนในธุรกิจที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่ยั่งยืน นับตั้งแต่ข้อมูลโอกาสทางการตลาด ความเสี่ยง ผลตอบแทนจากการลงทุน ไปจนถึงผลประโยชน์ด้านความยั่งยืนที่อาจเกิดขึ้น”
คุณรื่นวดีได้เน้นย้ำว่า การจัดหาเงินทุนเพื่อความยั่งยืนเป็นการดำเนินการร่วมกันของทุกฝ่าย ทุกภาคส่วนต้องร่วมกันขับเคลื่อนวาระนี้ไปข้างหน้า ซึ่งการจัดงาน Sustainable Thailand 2022 ในวันนี้นับเป็นอีกหนึ่งกลไกสำคัญของการผลักดันความร่วมมือไปสู่ความมั่นคงทางสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศโดยรวม
ด้าน ดร.ศรีกัญญา ยาทิพย์ เลขาธิการ คณะกรรมการกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ได้แสดงความตระหนักของกบข. ต่อภารกิจของหน่วยงานว่า “เราไม่เพียงบริหารเงินออมเพื่อการเกษียณให้กับสมาชิกที่เป็นข้าราชการเท่านั้น แต่เรามองว่าการดำเนินการลงทุนของสำนักงานเป็นส่วนหนึ่งของการผลักดันความยั่งยืนให้เกิดขึ้น เราจึงประกาศเจตนารมณ์ในการเป็น Leader in ESG Investment & Initiatives หรือผู้นำการลงทุนในบริบทที่สอดคล้องกับหลักการ ESG และเป็นผู้ริเริ่มนวัตกรรม ESG ในประเทศไทย”
กบข. เป็นหน่วยงานแรกของประเทศไทยที่ไปลงนามใน Principles for Responsible Investment (PRI) เครือข่ายได้รับการสนับสนุนจากสหประชาชาติของนักลงทุนสถาบันทั่วโลก ที่เห็นความสำคัญและนำปัจจัยด้าน ESG มาใช้ประกอบการตัดสินใจในการลงทุน นอกจากนี้ กบข. ดำเนินการความร่วมมือด้านการลงทุนอย่างรับผิดชอบ หรือ ESG Collaborative Engagement เพราะอย่างที่ทราบกันดีว่าการลงทุนให้เกิดความยั่งยืนนั้น เราไม่สามารถทำได้ตามลำพังได้ แต่ต้องอาศัยการขับเคลื่อนร่วมกัน” ดร. ศรีกัญญากล่าว
ในช่วงเปิดงานมีการกล่าวปาฐกถาพิเศษโดย คุณอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ที่เน้นย้ำว่า แม้ประเทศไทยจะได้ขับเคลื่อนเรื่องระบบการเงินเพื่อความยั่งยืนมาแล้วระยะเวลาหนึ่ง แต่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะยังเป็นความท้าทายของมนุษชาติต่อไปอีกยาวนาน ดังนั้นการระดมทุนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนจะยังเป็นเรื่องที่เราทุกคนต้องผลักดันกันต่อไป “มันเป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมด รวมถึงกระทรวงการคลังด้วยเช่นกัน ที่จะทำให้อุปสงค์และอุปทานของการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนได้มาเจอกัน
“ผมยินดีที่ปัจจุบันสถาบันการเงินของรัฐหลายแห่งได้ออกตราสารหนี้เพื่อสังคมและตราสารหนี้เพื่อสิ่งแวดล้อม เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ที่มีการจัดพอร์ตส่วนหนึ่งไว้ลงทุนในธุรกิจสีเขียวโดยเฉพาะ อย่างไรก็ตาม ในอนาคตผมคิดว่าเราต้องคุยและดำเนินการกันมากขึ้นอีกเกี่ยวกับการพัฒนาตัวโครงการเพื่อความยั่งยืน”
นอกจากนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังยังระบุถึงการสร้างระบบนิเวศของการเงินเพื่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศว่า “กระทรวงการคลังให้ความสำคัญกับการใช้สิ่งจูงใจทางด้านภาษี เช่น การลดอัตราอากรให้โครงการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อย่างนโยบายส่งเสริมการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทยเพื่อทดแทนยานยนต์เชื้อเพลิงฟอสซิส เครื่องมือทางภาษีเหล่านี้เป็นอีกหนึ่งช่องทางที่จะช่วยต่อเติมให้เกิดระบบนิเวศดังกล่าวขึ้น”
ส่วนช่วงการเสวนามีผู้แทนระดับสูงจากภาครัฐและเอกชนร่วมแบ่งปันความรู้และข้อมูลเชิงลึกในหลายประเด็น ในการอภิปรายหัวข้อ ‘การเปลี่ยนผ่านสู่ความยั่งยืนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ภายใต้ภูมิทัศน์ทางการเงินใหม่ของไทย’ โดยคุณรณดล นุ่มนนท์ รองผู้ว่าการด้านเสถียรภาพสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้อธิบายว่า “หลักการสำคัญที่ผมอยากตอกย้ำในวันนี้คือ การคำนึงถึงจังหวะเวลา ความเร็ว ที่เหมาะสมที่สุดกับบริบทของประเทศกำลังพัฒนาอย่างประเทศไทย เราต้องสร้างสมดุลระหว่างการเดินไปสู่เป้าหมายด้านความยั่งยืน และสิ่งที่อาจเกิดขึ้นกับภาคส่วนต่าง ๆ ระหว่างนี้ ดังนั้นการดำเนินการจะต้องไม่ช้าเกินไป แต่ก็ไม่ควรจะเร็วเกินกว่าที่ระบบเศรษฐกิจของเราจะปรับตัวได้ทัน และต้องไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง”
ปัจจุบันธนาคารแห่งประเทศไทยและกลต. ได้ร่วมกันจัดตั้ง Thailand Taxonomy มาตรฐานกลางที่ช่วยกำหนดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับสากล และสอดคล้องกับบริบทของไทย โดยเฉพาะการปรับตัวในช่วงเปลี่ยนผ่านภายในกรอบเวลาที่เหมาะสม
ต่อมาในการอภิปรายหัวข้อ “จุดประสงค์และแนวทางปฏิบัติ: บริการทางการเงินสามารถทำให้เกิดการระดมทุนเพื่อนำประเทศไทยไปสู่ Net Zero ได้อย่างไร” คุณจอร์โจ กัมบา (Giorgio Gamba) ผู้บริหารสูงสุด ธนาคาร HSBC ประเทศไทย ได้เผยว่า “ความท้าทายของการหาแหล่งทุนสีเขียวในปัจจุบัน คือการที่นักลงทุนเข้าใจถึงปัญหาการฟองเขียวหรือ Green Washing ดังนั้นเราต้องมีการวัดผลอย่างชัดเจนว่าโครงการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ท้ายที่สุดแล้วสร้างผลลัพธ์เชิงบวกต่อสิ่งแวดล้อมมากน้อยแค่ไหน เพื่อให้ทุกการสร้างเป้าหมายเกิดผลลัพธ์เป็นรูปธรรมจริง ๆ
“สำหรับ HSBC ประเทศไทย หลายครั้งที่เราประจักษ์ว่าลูกค้าของเราไม่ได้ทำตามมาตรฐานนานาชาติที่เหมาะสม เราจึงโน้มน้าวและจูงใจให้เขาเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินงาน ให้เป็นไปตามมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้อง ในฐานะธนาคาร เราต้องทำความเข้าใจอย่างลึกซึ่งถึงห่วงโซ่อุปทานของลูกค้า และเรียนรู้ว่าธุรกิจของพวกเขาต้องทำงานอย่างไร จึงจะสามารถสร้างผลกำไรไปพร้อมกับสร้างอนาคตที่ยั่งยืนได้”
ด้าน คุณนิกร นิกรพันธุ์ สมาชิกคณะทำงานการธนาคารเพื่อความยั่งยืน สมาคมธนาคารไทย กล่าวว่า “ปัจจุบัน เราทุกคนเห็นภาพกันแล้วว่าบริษัทขนาดใหญ่ล้วนมีวิธีการและแนวทางดำเนินการเพื่อความยั่งยืนของตัวเอง ดังนั้นโจทย์ต่อมาคือธุรกิจขนาดกลางและเล็ก ต้องทำอย่างไร SMEs จะเข้ามามีส่วนร่วมในการผลักดันเรื่องนี้มากขึ้น สมาคมฯ มองว่า กุญแจคือสิ่งที่ส่งผลต่อยอดขายของผู้ประกอบการรายย่อย อย่างอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่นโยบายเข้มข้นเกี่ยวกับการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทำให้ทุกส่วนในห่วงโซ่อุปทานนี้ขยับตัวกันอย่างรวดเร็ว”
ขณะที่การอภิปรายหัวข้อ ‘จุดประสงค์และแนวทางปฏิบัติ: ธุรกิจการเงินและนักลงทุนในสถาบันสามารถขับเคลื่อนวาระ ESG ในประเทศไทยได้อย่างไร’ ดร.ศรีกัญญา ยาทิพย์ เลขาธิการ คณะกรรมการกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ได้ถ่ายทอดมุมมองว่า ESG เปรียบเสมือนน้ำขึ้น กล่าวคือหากเกิดความร่วมมือกันของทุกภาคส่วน น้ำหนุนนี้ก็จะยกระดับเรือทุกลำขึ้นมา แต่หากทุกคนนิ่งเฉย มันก็สามารถล่มเรือทุกลำได้ด้วยเช่นกัน “กบข. กำลังเดินหน้าศึกษาและทำความเข้าใจว่า สถาบันควรลงทุนกับธุรกิจแบบใดจึงจะเหมาะสมที่สุดต่อการขับเคลื่อนการเยียวยาปัญหาสิ่งแวดล้อมโลก โดยเฉพาะเมื่อต้องคำนึงถึงการจัดอันดับองค์กรเพื่อสะท้อนเป้าหมายความยั่งยืนหรือ ESG Rating ซึ่งปัจจุบันการวัดผลยังมีหลากหลายเกณฑ์ด้วยกัน”
ส่วน ดร.กอบศักดิ์ ภูตระกูล ประธานสภาธุรกิจองค์กรตลาดทุนไทย ได้เล่าถึงการดำเนินการล่าสุดอย่าง Collective Action for Collective Impact “ที่ผ่านมา โครงการเพื่อสังคมหรือ CSR ของแต่ละบริษัทต่างก็มีเป้าหมายและการดำเนินการของตัวเอง ทำให้ผลลัพธ์ที่ออกมาไม่หลอมรวมกันเป็นภาพใหญ่ที่ต่อเนื่อง ตอนนี้หลายหน่วยงานจึงมาร่วมมือกันสร้างโครงการ CSR ที่มีเป้าหมายใหญ่ร่วมกัน และผมมั่นใจว่านี่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมได้อย่างไม่เคยเป็นมาก่อน
“ร้อยละ 80 ของขยะมหาสมุทรมาจากแม่น้ำทั้งหมด ดังนั้นเราจึงเชิญชวนบริษัทต่าง ๆ มาจัดการปัญหาขยะที่ปากแม่น้ำ โดยแบ่งหน้าที่รับผิดชอบไปเลยว่าบริษัทใดดูแลแม่น้ำเจ้าพระยา บริษัทใดดูแลแม่น้ำบ่างปะกง ท่าจีน แม่กลอง ซึ่งต่อไปเราจะขยายไปสู่การดูแลลำคลองสายเล็กต่าง ๆ อย่างทั่วถึงด้วย”
การอภิปรายหัวข้อ “การเงินและการลงทุนของภาคเอกชนสามารถเร่งการเติบโตสีเขียวในประเทศไทยได้อย่างไร” คุณอนุจ เมห์ตา (Anouj Mehta) ผู้อำนวยการสำนักงานผู้แทนธนาคารพัฒนาเอเชียประจำประเทศไทย (Asian Development Bank : ADB) ได้ให้แนวคิดว่า “ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความเปราะบางต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศมากที่สุดในโลก ดังนั้นการสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่ทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงนี้จึงมีความสำคัญอย่างมาก และการจะทำให้ภูมิภาคนี้มีโครงการสีเขียวมากขึ้น เราต้องการเงินทุนถึง 1.7 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี อย่างไรก็ตาม ความท้าทายคือปัจจุบันยังไม่มีเงินทุนจากภาคเอกชนไหลเวียนเข้ามามากพอ ดังนั้นรัฐบาลและหน่วยงานท้องถิ่นจำเป็นต้องผลักดันโครงการต่าง ๆ ที่น่าสนใจต่อภาคเอกชน เพื่อดึงดูดเงินทุนเหล่านั้น ไม่ว่าจะเป็นด้านเทคโนโลยี สาธารณูปโภค การเดินทางในเมือง การประปาไฟฟ้า”
ในขณะที่ตัวแทนจากภาคเอกชน คุณณัฐวุฒิ อินทรโรจน์ ผู้อำนวยการฝ่ายการพัฒนาที่ยั่งยืน บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย ได้แบ่งปันแนวคิดว่าปัจจุบัน ESG ไม่ใช่ทางเลือกอีกต่อไป แต่มันคือทางรอดที่ทุกธุรกิจต้องทำ “เราได้พัฒนาฉลาก SCG Green Choice ขึ้น เพื่อให้ความมั่นใจกับผู้บริโภคว่าสินค้าชั้นนั้น ๆ มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ประหยัดพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงมีอายุการใช้งานที่ยืนยาว อย่างบ้านที่ก่อสร้างและใช้วัสดุของ SCG ตั้งแต่หลังคาจรดพื้นล้วนได้รับการรับรองฉลากนี้
“ในการประชุม COP27 ที่ผ่านมา เราได้ประกาศเป้าหมายในการพัฒนาปูนซีเมนต์คาร์บอนต่ำNet Zero Concrete and Cement Roadmap เป็นแห่งแรกของโลก โดยได้รับการรับรองจาก European Cement Research Academy ซึ่งความสำเร็จนี้จะเกิดขึ้นไม่ได้เลยหากไม่มีความร่วมมือของสมาคมต่าง ๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยในปีหน้า เราได้ตั้งเป้าหมายว่าจะลดปริมาณคาร์บอนหนึ่งล้านตันออกจากอุตสาหกรรมให้ได้ นอกจากนี้เรายังร่วมขับเคลื่อนสระบุรีแซนบ็อก ให้เป็นจังหวัดต้นแบบที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์อีกด้วย”
และช่วงสุดท้ายของงาน คือเวทีอภิปรายหัวข้อ 'ก้าวต่อไป – วิธีส่งเสริมการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ระหว่างภาคเอกชนและตลาดการเงินในประเทศไทย เพื่อขยายการดำเนินงานด้านการเงินเพื่อความยั่งยืน ให้ธุรกิจสามารถรับความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม’
คุณวิทัย รัตนากร ผู้อำนวยการธนาคารออมสิน แสดงวิสัยทัศน์ว่า “ธนาคารออมสินวางบทบาทตัวเองเป็นธนาคารเพื่อสังคม ซึ่งมุ่งเน้นไปที่การช่วยเหลือชุมชนและผู้คน รวมถึงแก้ไขความยากจนและความเหลื่อมล้ำซึ่งเป็นปัญหาทางโครงสร้าง โดยกลยุทธ์ของเราคือ การนำผลกำไรจากรกิจเชิงพาณิชย์ ไปอุดหนุนธุรกิจเชิงสังคม”
คุณวิทัยยกตัวอย่างโครงการที่ธนาคารออมสินได้ร่วมมือกับมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงและหน่วยงานพันธมิตรอื่น ๆ ลงทุนในโครงการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตให้ประชาชนในอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน โดยส่งเสริมให้ประชาชนเปลี่ยนจากการปลูกพืชเชิงเดี่ยวอย่างข้าวโพดมาเป็นกาแฟ ซึ่งไม่เพียงเป็นพืชรักษาป่าแต่ยังมีราคาที่สูงกว่าด้วย
ด้าน คุณกฤษณ์ จิตต์แจ้ง กรรมการผู้จัดการธนาคารกสิกรไทย กล่าวถ้อยแถลงว่า “วิสัยทัศน์ของกสิกรไทยคือการเป็นธนาคารแห่งความยั่งยืน ความท้าทายของเรื่องนี้คือเราจะแปลงวิสัยทัศน์ต่าง ๆ ออกมาเป็นตัวเลขที่สัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรมอย่างไร นับจากวันนี้ไปจนถึงปี 2030 เราให้คำมั่นว่าจะลงทุนในสินเชื่อเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 1-2 แสนล้านบาท นอกจากนี้เราได้ตั้งเป้าหมายที่จะเป็น Net Zero ในปี 2030 และตัวอย่างการดำเนินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรง สโคปที่ 1 และ 2 ของเรา คือการเปลี่ยนรถทำงานของธนาคารที่มีอยู่กว่า 2,000 คันทั่วประเทศเป็นยานยนต์ไฟฟ้าทั้งหมด รวมถึงติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์เพื่อผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ บนหลังคาธนาคารกว่า 200 สาขา”
ขณะที่ คุณอุทัยวรรณ อนุชิตานุกูล ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายบริหารความเป็นเลิศและการพัฒนาที่ยั่งยืน บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา ได้บอกเล่าถึงการดำเนินงานว่า “ในแต่ละวันมีผู้มาใช้บริการพื้นที่ของมากกว่า 1 ล้านคน ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน พักผ่อน หรือการใช้บริการอื่น ๆ การที่เราเป็นศูนย์รวมการใช้ชีวิตของผู้คนนับเป็นโอกาสดีที่จะทำให้เราเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างการขับเคลื่อนด้านความยั่งยืนมิติต่าง ๆ ไปสู่ผู้บริโภค ในการพัฒนาพื้นที่ เราเข้มงวดกับการตรวจสอบให้อสังหาริมทรัพย์ประเภทต่าง ๆ ตอบโจทย์มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมทั้งหมด นอกจากนี้ หนึ่งในความท้าทายของการมีกิจกรรมต่าง ๆ เกิดขึ้นมากมายในพื้นที่ คือการบริหารจัดการของเสียและขยะ โดยเรามีเป้าหมายที่จะลดของเราไปยังหลุมฝังให้ได้ถึงร้อยละ 70”
คุณจอมขวัญ คงสกุล ผู้ช่วยเลขาธิการสายระดมทุน สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ วิทยากรคนสุดท้ายของงานในวันนี้ได้กล่าวทิ้งท้ายว่า “ในการขับเคลื่อนระบบการเงินเพื่อความยั่งยืน สิ่งที่วิทยากรทุกท่านต่างพูดตรงกันคือเรื่องของความร่วมมือ เราไม่สามารถดำเนินการเรื่องนี้เพียงลำพังได้ อย่างไรก็ดีสิ่งที่ กลต. สามารถทำได้ในวันนี้คือการสร้างความเข้มแข็งให้คณะผู้ขับเคลื่อนหลักหรือ Key Driver ซึ่งก็คือหน่วยงานต่าง ๆ ที่เข้ามางาน Sustainable Thailand ในวันนี้ เพื่อขยายขีดความสามารถและทำให้ระบบนิเวศการเงิน การธนาคารและการลงทุนเพื่อความยั่งยืนของประเทศไทยเติบโตต่อไป”
1 of 5
ข่าวประชาสัมพันธ์
10 พฤศจิกายน 2022
งานเปิดโครงการ Partnership for Action on Green Economy ในประเทศไทย
สำหรับการจัดงานเปิดโครงการฯ ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแนะนำโครงการ PAGE (ประเทศไทย) พร้อมทั้งเชิญผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการวางนโยบาย การปฏิบัติและการลงทุนเพื่อเศรษฐกิจสีเขียวในภาคส่วนต่าง ๆ ได้เข้ามามีส่วนร่วมเป็นพันธมิตรความร่วมมือด้านเศรษฐกิจสีเขียว อีกทั้งใช้งานเปิดตัวฯ ดังกล่าวเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ และมุมมองของแต่ละภาคส่วน ก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงานที่สนับสนุน ไม่ซ้ำซ้อน และแบ่งปันบทบาทหน้าที่และความร่วมมือในการปฏิบัติการให้เกิดเศรษฐกิจสีเขียวแบบบูรณาการ (Inclusive Green Economy; IGE) ได้อย่างชัดเจน ทั้งยังเป็นเวทีในการนำเสนอผลการดำเนินงานในของโครงการ PAGE (ประเทศไทย) ในระยะที่ผ่านมา ได้แก่ การศึกษา Stocktaking ด้านเศรษฐกิจสีเขียว การศึกษาประเมินความต้องการด้านการเสริมสร้างศักยภาพด้านการฟื้นฟูเศรษฐกิจสีเขียว (Green Recovery Learning Needs Assessment) และแผนงานการศึกษาประเมินการใช้งบประมาณโครงการฟื้นฟูเศรษฐกิจสีเขียว (Green Recovery Assessment) ภายใต้งบประมาณฟื้นฟูเศรษฐกิจจากโควิดวงเงิน 4 แสนล้านบาท เป็นต้น
นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน กล่าวระหว่างการร่วมเป็นประธานในพิธีเปิดโครงการฯ ว่ารัฐบาลไทยยินดีเป็นอย่างยิ่งในการเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Partnership for Action on Green Economy โดยรัฐบาลมีนโยบายให้ความสำคัญต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ทั้งด้ำนเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ที่มีความมุ่งหวังในการปรับเปลี่ยนไทยไปสู่โฉมหน้าใหม่ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลก ทั้งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และผลกระทบจากวิกฤตโควิด-19 โดย 1 ใน 5 เป้าหมายที่สำคัญคือ การสร้างความยั่งยืนให้กับประเทศ ซึ่งมุ่งเน้นเรื่องการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งสอดรับกับเศรษฐกิจสีเขียว นอกจากนั้นรัฐบาลไทยยังมีนโยบายการใช้โมเดลเศรษฐกิจ BCG ควบคู่กับแผนพัฒนาฯ 13 โดยโมเดลฯ ดังกล่าว ทำหน้าที่บูรณาการการพัฒนาตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ ได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและเอกชน จากระดับชุมชนไปถึงโครงการลงทุนขนาดใหญ่ สร้างความสมดุลเป็นธรรมและมุ่งสู่เป้าหมายสูงสุดคือการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) สำหรับการเปิดตัวโครงการ PAGE ในวันนี้ยังเป็นโอกาสอันดี ที่ผู้กำหนดนโยบายในภาคส่วนต่าง ๆ จะได้แลกเปลี่ยนข้อมูลความเห็นเพื่อร่วมกันผลักดันการพัฒนาเศรษฐกิจสีเขียวแบบบูรณาการในทุกมิติ รวมถึงการใช้เศรษฐกิจสีเขียวในกิจกรรมการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศไทยในเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมโดยเร็ว
ดร. วิชญายุทธ บุญชิต ประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ PAGE ในประเทศไทย และรองเลขาธิการสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กล่าวระหว่างช่วงการแถลงข่าวแก่สื่อมวลชน ว่า สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นหน่วยงานหลัก ซึ่งจะทำงานโดยประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมที่แสดงความจำนงค์เข้าร่วมโครงการ ได้แก่ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรมวิชาการเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานเศรษฐกิจดิจิทัลกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์ร่วมกันในการที่จะขับเคลื่อนการดำเนินการด้านเศรษฐกิจสีเขียวอย่างบูรณาการใน 5 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) การลดการปล่อยคาร์บอนและมลพิษ (2) การส่งเสริมการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (3) การป้องกันการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ (4) การเพิ่มงานที่มีคุณค่า (5) การกระจายรายได้และความมั่งคั่งอย่างเป็นธรรม เพื่อที่จะนำพาประเทศไปสู่การการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมทั้งตอบโจทย์ความท้าทาย 3 ข้อที่มนุษยชาติเผชิญอยู่ในปัจจุบัน คือ ด้านความยากจนถาวร ด้านการกระจายความมั่งคั่งที่ไม่เสมอภาค และการก้าวข้ามขีดจำกัดด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดการพัฒนาและสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีความเท่าเทียมและเสมอภาคทางสังคม
เพื่อเป็นการขับเคลื่อนโครงการ PAGE ในประเทศไทยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามเป้าหมาย สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ PAGE ขึ้น โดยในการดำเนินงานในปี 2565 คณะกรรมการขับเคลื่อนฯ ได้ให้ความเห็นชอบกรอบการดำเนินงานซึ่งประกอบด้วย 4 กิจกรรมหลัก ได้แก่ (1) กิจกรรมการศึกษาการจัดทำระบบซื้อขายสิทธิในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภาคบังคับ (ETS) เพื่อสนับสนุนเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย (2) กิจกรรมการพัฒนากลไกด้านการเงินสำหรับการจัดการขยะชุมชนอย่างยั่งยืน เพื่อสนับสนุนโมเดลเศรษฐกิจ BCG ของประเทศ (3) กิจกรรมสร้างขีดความสามารถที่จำเป็นในด้านเศรษฐกิจสีเขียวผ่านการสร้างความรู้ พัฒนาและจัดการฝึกอบรมที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศ โดยเฉพาะในเรื่องกลไก ETS โมเดลเศรษฐกิจ BCG ในภาคเกษตรและการสร้างงานสีเขียว และ (4) กิจกรรมการให้ความรู้และการสื่อสารเพื่อสร้างการตระหนักรู้ระดับชาติและระดับภูมิภาค งานเปิดตัวแนะนำโครงการ PAGE ประเทศไทยอย่างเป็นทางการในวันนี้เป็นโอกาสอันดีที่จะสื่อสารให้แก่ประชาชนและสังคมได้รับทราบว่า ขณะนี้ประเทศไทยกำลังดำเนินการขับเคลื่อนเข้าสู่การพัฒนาประเทศด้านเศรษฐกิจสีเขียวภายใต้โครงการความร่วมมือของ PAGE ซึ่งมีความสอดคล้องและเป็นส่วนหนึ่งของกรอบการพัฒนาภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และนโยบาย BCG
ในฐานะประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ PAGE ในประเทศไทย ใคร่ขอเชิญชวนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม เข้ามีส่วนร่วมผลักดัน และขับเคลื่อนการดำเนินการด้านเศรษฐกิจสีเขียวอย่างบูรณาการด้วยกัน เพื่อให้ประเทศเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนในทุกมิติ ด้วยความเท่าเทียมเสมอภาค และมีทรัพยากรคงอยู่เหลือไว้สำหรับคนรุ่นถัดไป
นางศุกร์สิริ แจ่มสุข รองผู้แทนประจำภูมิภาค องค์การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติ (UNIDO) ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักดำเนินโครงการ PAGE ในประเทศไทย ร่วมกับหน่วยงานสหประชาชาติพันธมิตรในโครงการอีก 4 หน่วยงานได้แก่ โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ และสถาบันการฝึกอบรมและการวิจัยแห่งสหประชาชาติ ร่วมสนับสนุนด้านเทคนิคจากความชำนาญและประสบการณ์ระหว่างประเทศ ทั้งด้านการพัฒนาสังคมคาร์บอนต่ำ การส่งเสริมอุตสาหกรรมสีเขียว แรงงานสีเขียว การเงินและการพัฒนาสีเขียว รวมถึงการฝึกอบรมและวิจัยร่วมกับหน่วยงานระหว่างประเทศต่างๆ
ปัจจุบันโครงการมีสมาชิกทั้งสิ้น 22 ประเทศ ประเทศไทยเข้าร่วมโครงการ PAGE เป็นประเทศที่ 20 ในปี 2562 และเริ่มดำเนินการโครงการระยะเริ่มต้น (Inception phase) ในเดือนมีนาคม2563 ก่อนเกิดการระบาดของ COVID-19 โดยมีระยะเวลาดำเนินระยะปฏิบัติการทั้งสิ้น 3 ปี ด้วยงบประมาณสนับสนุนประมาณหนึ่งล้านเหรียญสหรัฐ การดำเนินการระยะในระยะเริ่มต้นของโครงการได้สนับสนุน ได้แก่ การศึกษารวบรวมข้อมูลประเมินสถานะความพร้อมด้านเศรษฐกิจสีเขียวของประเทศ (Green Economy Stocktaking) การประเมินการใช้งบฟื้นฟูเศรษฐกิจสีเขียวจากสถานการณ์โควิด (Green Recovery Assessment) และการประเมินความต้องการการเสริมสร้างศักยภาพด้านการฟื้นฟูเศรษฐกิจสีเขียว (Green Recovery Learning Needs Assessment)
พันธมิตรในโครงการสหประชาชาติทั้ง 5 หน่วยงาน มีความยินดีอย่างยิ่งที่ได้ร่วมดำเนินงานกับประเทศไทย ด้วยความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่จะนำเศรษฐกิจสีเขียวมาสู่การปฏิบัติ สร้างสังคมคาร์บอนต่ำ วิเคราะห์และปรับปรุงการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการผลิตด้วยเทคโนโลยีสะอาด จูงใจให้เกิดการบริโภคที่คำนึงถึงสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม
ทั้งนี้การจัดงานเปิดโครงการฯ และแถลงข่าวในครั้งนี้ ถือเป็นการแสดงเจตนารมณ์ของคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการ Partnership for Action on Green Economy (PAGE) ในประเทศไทยเพื่อร่วมมือกันขับเคลื่อนเศรษฐกิจสีเขียวอย่างบูรณาการ โดยในงานฯ มีผู้บริหารหน่วยงานราชการ หน่วยงานท้องถิ่น ผู้บริหารหน่วยงานเอกชน สถาบันการศึกษา ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการกำหนดนโยบาย สื่อมวลชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมงานในรูปแบบ onsite มากกว่า 120 คนและ online มากกว่า 200 คน
1 of 5
ข่าวประชาสัมพันธ์
09 พฤศจิกายน 2022
คำประกาศเจตนารมณ์ความร่วมมือของสมาชิก GCNT ในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ การปกป้องธรรมชาติ อย่างเป็นรูปธรรม วัดผล และขยายผลได้
สมาชิกสมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็กแห่งประเทศไทยตระหนักถึงความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ และนิเวศบริการในการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน จึงจะเร่งดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม ร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน ร่วม ปกป้องฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ ลดและชดเชยการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ส่งเสริมการ แก้ปัญหาโดยใช้ธรรมชาติเป็นพื้นฐาน (Nature-based Solutions) เพื่อบรรเทาผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากวิกฤตการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ
ทั้งนี้สมาชิกฯ ขอประกาศเจตนารมณ์ว่า จะมุ่งมั่น บริหารจัดการ กำหนดนโยบายและใช้ประโยชน์จากความ หลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนและเป็นธรรมตลอดห่วงโซ่อุปทาน โดยมีระบบในการประเมินและติดตามตรวจสอบคุณค่า ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนตลอดจนผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน และด้วยการ สนับสนุนกลไกทางการเงิน การบริหารจัดการอย่างเป็นวิทยาศาสตร์และความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อสนับสนุนเป้าหมาย ของประเทศไทยในการปกป้องคุ้มครองพื้นที่บนบกและทะเลให้ได้อย่างน้อยร้อยละ 30 ของพื้นที่ ภายในปี ค.ศ. 2030
1 of 5
ทรัพยากรล่าสุด
1 / 11
ข้อมูล
10 ธันวาคม 2021
1 / 11